1 / 40

ผลการวิจัยพันธุ์ไก่ไข่เพื่อทดแทนการนำเข้า

ผลการวิจัยพันธุ์ไก่ไข่เพื่อทดแทนการนำเข้า. ดร. สวัสดิ์ ธรรมบุตร อุดมศรี อิทรโชติ และ คณะ กรมปศุสัตว์ และ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องค์การมหาชน). สาเหตุการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมของไทยมีต้นทุนสูง. เน้นผลผลิตในด้านปริมาณมากกว่าด้านประสิทธิภาพ การสร้างโรงเรือนที่มีราคาสูง

Download Presentation

ผลการวิจัยพันธุ์ไก่ไข่เพื่อทดแทนการนำเข้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการวิจัยพันธุ์ไก่ไข่เพื่อทดแทนการนำเข้าผลการวิจัยพันธุ์ไก่ไข่เพื่อทดแทนการนำเข้า ดร. สวัสดิ์ ธรรมบุตร อุดมศรี อิทรโชติ และ คณะ กรมปศุสัตว์ และ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องค์การมหาชน)

  2. สาเหตุการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมของไทยมีต้นทุนสูง • เน้นผลผลิตในด้านปริมาณมากกว่าด้านประสิทธิภาพ • การสร้างโรงเรือนที่มีราคาสูง • ค่ากระแสไฟฟ้าเดือนละกว่า 20,000 บาทต่อโรงเรือนปิดหนึ่งหลัง • ค่าเครื่องคัดขนาดไข่ไก่ ราคานับสิบล้านบาท • ค่าการจัดการด้านตลาดพ่อค้าคนกลางสูงเกินไป

  3. แนวทางแก้ไข • ทำการวิจัยพันธุ์ใหม่ให้สามารถเลี้ยงได้ดีในทุกภาคของไทย • ในสภาพโรงเรือนเปิดทั่วไป • มีภูมิคุ้มกันโรคตามธรรมชาติทั่วไป • ให้ผลผลิตสูง • ให้ผลตอบแทนทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคพอเหมาะพอดีอยู่ด้วยกันทุกฝ่าย

  4. วัตถุประสงค์ • สร้างพันธุ์ไก่ไข่พันธุ์ใหม่ของไทยที่เป็นต้นพันธุ์ (GGP) พันธุ์หลัก (GP) และพันธุ์ขยาย ทดแทนการนำเข้าได้เป็นบางส่วน • สร้างพันธุ์ไก่ไข่พันธุ์ใหม่ที่เป็นลูกผสมไฮบริดจ์เพื่อการค้า เพื่อผลิตไข่บริโภคภายในประเทศ • พันธุ์ใหม่เป็นพันธุ์ที่ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดู ของเกษตรกรทั่วไปภายใต้โรงเรือนเปิด

  5. วิธีดำเนินการวิจัยพันธุ์วิธีดำเนินการวิจัยพันธุ์ • พันธุ์โร๊ดไอแลนด์เรด (พันธุ์ที่กรมปศุสัตว์อนุรักษ์ พัฒนาและใช้ประโยชน์มานานกว่า 45 ปี) ลักษณะประจำพันธุ์ • ขนสีแดงแกมดำที่ปลายและขอบของขน • อายุเริ่มไข่ 167 วัน • นน.ตัวเมิ่เริ่มไข่ 1,900 กรัม • เปลือกไข่สีน้ำตาลดำ • เมื่อนำพ่อพันธุ์ผสมข้ามพันธุ์กับแม่พันธุ์ไทยพลีมัทร็อคลูกเกิดมาสามารถแยกเพศได้

  6. พันธุ์ไทยบาร์พลีมัธร๊อค (พันธุ์ใหม่ที่กรมปศุสัตว์พัฒนา) ลักษณะประจำพันธุ์ • ขนลำตัวสีขาว คอลาย ปลายหางดำ • อายุเริ่มไข่ 165 วัน • นน.ตัวเมิ่เริ่มไข่ 1,650 กรัม • เปลือกไข่สีน้ำตาล • สีขนแตกต่างจากต้นตระกูลเดิม ซึ่งมีขนลายขาวดำ • เมื่อนำพ่อพันธุ์ผสมข้ามพันธุ์กับแม่พันธุ์โรดไอแลนด์แดง ลูกเกิดมามีสีขนเหมือนพ่อ สามารถแยกเพศได้ด้วยเครื่องหมายทางพันธุกรรมที่บ่งชี้ด้วยสีขนแรกเกิด

  7. พันธุ์สังเคราะห์ 1 ลักษณะประจำพันธุ์ • ขนสีแดงแกมดำ บางตัวมีสีแดงปนขาว • อายุเริ่มไข่เร็วกว่าไก่โร๊ดฯ • เปลือกไข่สีน้ำตาลเข้ม • เมื่อนำไปผสมข้ามพันธุ์กับพันธุ์สังเคราะห์ 2 ลูกเกิดมาวันแรกสามารถแยกเพศได้ด้วยเครื่องหมายทางพันธุกรรม ที่บ่งชี้ด้วยสีขน เพศผู้จะมีขนสีขาว เพศเมียมีจุดดำบนหัว หรือบางตัวหลังลายดำ

  8. พันธุ์สังเคราะห์ 2 ลักษณะประจำพันธุ์ • ขนลำตัวสีขาว คอลาย ปลายหางดำ บางตัวมีสีขาวล้วน • ตัวเล็ก อายุเริ่มไข่เร็ว • เปลือกไข่สีน้ำตาลเข้ม • เมื่อนำไปผสมข้ามพันธุ์กับพันธุ์สังเคราะห์ 1 ลูกเกิดมาวันแรกสามารถแยกเพศได้ด้วยเครื่องหมายทางพันธุกรรม ที่บ่งชี้ด้วยสีขน เพศผู้จะมีขนสีขาว เพศเมียมีจุดดำบนหัว หรือบางตัวหลังลายดำ

  9. โดยมีแผนผสมพันธุ์แบบ line breeding ในแต่ละสายพันธุ์และทำการทดสอบลูกผสมระหว่างสี่สายพันธุ์

  10. วิธีการได้มาของ ปู่ ย่า พันธุ์ • เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างพี่ น้อง พ่อ แม่ ในสายพันธุ์เดียวกันเป็นเวลานานติดต่อกัน สี่ชั่วอายุ • ตามด้วยการผสมพันธุ์แบบ Line Breeding พร้อมๆกับการคัดเลือกพันธุ์แบบ Mass Selection • โดยการใช้ดัชนีการคัดเลือก (Selection Index) ที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี Best Line Unbies Prediction (BLUP)

  11. วิธีการได้มาของ ปู่ ย่า พันธุ์ • เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างพันธุ์ RR กับพันธุ์ไก่สายพันธุ์ต่างประเทศ • จากนั้นจึงทำการผสมพันธุ์แบบ Interse และตามด้วยการผสมพันธุ์แบบ Line Breeding พร้อมๆกับการคัดเลือกพันธุ์แบบ Mass Selection ติดต่อกัน สองชั่วอายุ (F2) • ใช้ดัชนีย์การคัดเลือก(Selection Index) ที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี Best Line Unbies Prediction (BLUP)

  12. วิธีการได้มาของ ปู่ ย่า พันธุ์ • เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างพันธุ์ WW กับพันธุ์ไก่สายพันธุ์ต่างประเทศ • จากนั้นจึงทำการผสมพันธุ์แบบ Interse และตามด้วยการผสมพันธุ์แบบ Line Breeding พร้อมๆกับการคัดเลือกพันธุ์แบบ Mass Selection ติดต่อกัน สองชั่วอายุ (F2) • ใช้ดัชนีย์การคัดเลือก(Selection Index) ที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี Best Line Unbies Prediction (BLUP)

  13. ผลของการวิจัย • สามารถสร้าง พันธุ์หลัก (GP) และพันธุ์ขยาย (PS) และพันธุ์ไก่ไข่เพื่อการค้าได้เอง • พันธุ์ไก่ไข่ที่ได้ให้ผลผลิตไม่แตกต่าง แต่ต้นทุนค่าพันธุ์ต่างกันมากกว่า 50 % • ลูกไก่ไข่เพื่อการค้า ที่มีความสามารถ ผลิตไข่ เปลือกสีน้ำตาล ได้เฉลี่ยปีละ 270-300 ฟอง/ตัว

  14. สรุปลักษณะประจำพันธุ์ไก่ไข่พันธุ์ใหม่

  15. การใช้ประโยชน์ของพันธุ์การใช้ประโยชน์ของพันธุ์ • สามารถนำไปผลิตลูกไก่ไข่ได้ในจำนวนที่ไม่จำกัด ขึ้นกับความต้องการของตลาด • สามารถเก็ยรักษาพันธุ์ ปู่ ย่า ไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่อง หากเก็บรักษาพันธุ์ไว้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ • การนำไปใช้ประโยชน์โดยการขยายพันธุ์ปู่ ย่า ให้เป็นพันธุ์ขยาย (PS) ได้ในจำนวนที่ต้องการ แล้วผสมสลับข้ามพันธุ์ระหว่างสายที่กำหนด

  16. สถานที่วิจัย

  17. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค

  18. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค

  19. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค

  20. พันธุ์ไก่ไข่ต้นพันธุ์พันธุ์ไก่ไข่ต้นพันธุ์

  21. การเลี้ยงไก่เล็ก

  22. การเลี้ยงไก่รุ่น

  23. การเลี้ยงไก่พ่อ แม่พันธุ์

  24. การศึกษาผลผลิตไข่

  25. การศึกษาปริมาณการใช้อาหารการศึกษาปริมาณการใช้อาหาร

  26. การผสมพันธุ์ไก่

  27. การผสมเทียม

  28. RR

  29. ww

  30. RW

  31. WR

  32. ไก่พันธุ์ไข่สายพันธุ์ต่างประเทศไก่พันธุ์ไข่สายพันธุ์ต่างประเทศ

  33. พันธุ์สังเคราะห์ 1

  34. พันธุ์สังเคราะห์ 2

More Related