130 likes | 389 Views
บทบาทของท้องถิ่นในการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน. สุกานดา พัดพาดี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย. 1. ความคาดหวังต่อ อปท. ในการคุ้มครองสุขภาพประชาชน. สิทธิการทางสุขภาพของประชาชนตาม กฏหมาย. 2. 3. หลักการกรอบแนวคิด HIA. 4.
E N D
บทบาทของท้องถิ่นในการคุ้มครองสุขภาพของประชาชนบทบาทของท้องถิ่นในการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน สุกานดา พัดพาดี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย
1 ความคาดหวังต่ออปท.ในการคุ้มครองสุขภาพประชาชน สิทธิการทางสุขภาพของประชาชนตามกฏหมาย 2 3 หลักการกรอบแนวคิด HIA 4 HIA ตามพรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 หัวข้อในการบรรยาย
องค์กรที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนองค์กรที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน • มีบทบาทสำคัญในการดูแลคุ้มครองสุขภาพประชาชนในการดูแลคุ้มครองสุขภาพประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีในสภาพแวดล้อมที่ดี • สิทธิของประชาชน/ชุมชน • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • บทบาทของอปท.ที่จะเปลี่ยนแปลงไป องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ใช้กฎหมายหลายฉบับเป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน
ถ้าเกิดโครงการพัฒนาต่างๆเหล่านี้ในพื้นที่ถ้าเกิดโครงการพัฒนาต่างๆเหล่านี้ในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดำเนินการอย่างไร ?
โครงการ/กิจการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโครงการ/กิจการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องอนุมัติอนุญาต จะทำอย่างไร ?
สิทธิทางสุขภาพของประชาชน/ชุมชนสิทธิทางสุขภาพของประชาชน/ชุมชน • สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี • สิทธิได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะใน ครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น • สิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาตหรือการดำเนินโครงการ/กิจกรรที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต
การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ม.5 บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ม.11 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการทำ HIA • การคุ้มครองประชาชน • 1) กิจการที่ต้องควบคุมตามกฏหมาย • กิจการตลาด • กิจการร้านอาหาร • กิจการเก็บ ขน/กำจัดสิ่งปฏิกูล/มูลฝอย(ธุรกิจ) • กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (135 ประเภท) • การขายสินค้าในที่/ทางสาธารณะ • สถานที่สะสมอาหาร • การเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์ • 2) กิจการทั่วไป • บ้าน/ ครัวเรื่อง/ ชุมชน • โรงเรียน/ สถานศึกษา • วัด/ ศาสนสถาน • สถานีขนส่ง/ สถานีรถไฟ • สถานพยาบาล • สถานประกอบกิจการอื่น ๆ ก่อนประกอบการ ต้องขออนุญาต /แจ้ง เจ้าพนักงานท้องถิ่น ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ร.บ.การกระจายอำนาจ พ.ศ. 2542 มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ ท้องถิ่นจะต้องจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตน ต้องปฏิบัติให้ถูก สุขลักษณะ ต้องกำจัด สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย ต้องดูแลอาคารให้ถูกสุขลักษณะ ต้องไม่ก่อเหตุรำคาญ
HIA เครื่องมือคุ้มครองสุขภาพของประชาชน • - เชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • - คาดการณ์ผลกระทบต่อสมาชิกในชุมชนทุกคน หรือเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง/ให้ความสำคัญต่อกลุ่มอ่อนด้อย • เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้มีส่วน • ได้ส่วนเสีย/สร้างความตระหนักต่อสุขภาพ • กลยุทธ์ในการดำเนินงานโดยอาศัยการ • กระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่น
ความหมาย: การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(Health Impact Assessment) กระบวนการ วิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลาย ที่ใช้เพื่อการคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบาย แผนงานหรือโครงการที่มีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และการกระจายของผลกระทบในกลุ่มประชากรและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะกำหนดถึงกิจกรรมที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านั้น (องค์การอนามัยโลก/IAIA 2006) ความหมายของ HIA
กรอบแนวคิด:ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพกรอบแนวคิด:ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สิ่งคุกคามจากกิจกรรมทั้งก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ ปิดโครงการ โครงการ/กิจการพัฒนา ปัจจัยกำหนดสุขภาพเกิดการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบต่อสุขภาพ ส่งผลต่อคนงานและประชาชนที่อยู่โดยรอบ ผลกระทบด้านบวก ผลกระทบด้านลบ มาตรการในการส่งเสริม มาตรการในการลดผลกระทบ
ผลักดันให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุขให้มีความชัดเจนผลักดันให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุขให้มีความชัดเจน • สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถ และทักษะแก่บุคลากร อปท. เพื่อคุ้มครองประชาชน ชุมชน ผู้ประกอบกิจการ คนงาน/ผู้ปฏิบัติงาน ได้อยู่ในสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ผ่านกลไก คณะกรรมการสาธารณสุข ส่งเสริมการดำเนินงาน HIA ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
การคุ้มครองสิทธิของปชช.จากกิจการภาครัฐและเอกชนการคุ้มครองสิทธิของปชช.จากกิจการภาครัฐและเอกชน • ประกาศกิจการที่ต้องควบคุม • มาตรฐาน หลักเกณฑ์ ในการควบคุม กรมอนามัย รมต.สาธารณสุข คำแนะนำทางวิชาการ (ขนถ่ายถ่านหิน) ศึกษาวิจัยHIAกิจการภายใต้พรบ.สาสุข ก่อนประกอบกิจการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุข (32 จังหวัด) แบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 8 กิจการ (อู่เคาะพ่นสี,ตากมัน,ฟอกย้อม,โรงสีข้าว,เลื่อยไม้,เลี้ยงไก่,สระว่ายน้ำ,หอพัก ) คณะกรรมการสาธารณสุข ให้คำแนะนำ การคำปรึกษาแก่ราชการท้องถิ่น คู่มือวิชาการ (โรงไฟฟ้า,อุตสาหกรรมเหล็ก,ปิโตรเคมี) ราชการท้องถิ่น ศึกษาวิจัยHIAกิจการไม่อยู่ภายใต้พรบ.สาสุข • อนุมัติ/อนุญาต ข้อเสนอในการประกาศกิจการที่ต้องควบคุม (โรงฟ้าฟ้าชีวมวล) • กำกับ/ติดตาม ปกติ ระหว่างดำเนินกิจการ ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษาแก่ราชการท้องถิ่น เกิดเหตุ
คำถาม & คำตอบ ข้อเสนออื่นๆ ขอขอบคุณ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข http://hia.anamai.moph.go.th/