420 likes | 433 Views
การประกันคุณภาพการศึกษา. ในบริบทของผู้บริหาร. Why and How to. ศ. นพ. วุฒิชัย ธนาพงศธร. QA implementation. หลักปรัชญาของ ในหลวง. เข้าใจ เข้าถึง เข้าพัฒนา. Principle. IQA vs EQA ใครนำไปใช้ประโยชน์ ใช้มาตรฐานของใคร ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา. การประกันคุณภาพ.
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา ในบริบทของผู้บริหาร Why and How to ศ. นพ. วุฒิชัย ธนาพงศธร
หลักปรัชญาของ ในหลวง • เข้าใจ • เข้าถึง • เข้าพัฒนา
Principle • IQA vs EQA • ใครนำไปใช้ประโยชน์ • ใช้มาตรฐานของใคร • ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา
การประกันคุณภาพ IQAEQA 1. เป้าหมายของสถาบัน 1. เป้าหมายของประเทศ (โดยมีมาตรฐานอุดมศึกษา เป็นมาตรฐานต่ำสุด) 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของสถาบัน+ของ 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ สมศ. สกอ+สมศ+กพร+องค์กรวิชาชีพ 3. เพื่อพัฒนา-ให้สูงกว่าเดิม 3. เพื่อรับรอง-กำกับไม่ให้ต่ำกว่านี้ 4. ทุก 1 ปี 4. ทุก 5 ปี 5. โดยสถาบันตนเองภายใน 5. โดย องค์กรภายนอก :- สมศ
ระบบคุณภาพในการประกันคุณภาพระบบคุณภาพในการประกันคุณภาพ • 5 ส (สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ สร้างนิสัย) • Quality Assurance (QA) 9 องค์ประกอบ • ISO (International Organization for Standardization) • Total Quality Management (TQM) • PDCA - CQI • CIPOO, IPOO, IPO • Accreditation • National Quality Award:-MBNQA, Australia, Singapore, TQA, EdPEX • Ranking:- QS, Time Higher, Webometric • PSO (Public sector Standard management system and Outcome) • PMQA (Pubic Management Quality Award) • TQF accreditation
คำถามเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้IQA 1 • การดำเนินงานด้านประกันคุณภาพ IQA and EQA ทำให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพได้ จริงหรือไม่ ? 2. สถาบันที่ระบบประกันคุณภาพที่ดี จะมีคุณภาพดี จริงหรือไม่ ? 3. สถาบันที่ต้องการเป็น - Learning organization - Intellectual organization - Innovative organization จะต้องมี IQA จริงหรือไม่ ?
คำถามเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้IQA 2 4. กระบวนการประกันคุณภาพ เป็นกระบวนการเรียนรู้ จริงหรือไม่? 5. IQA and EQA ทำให้สถาบันอยู่รอดในสภาวะ การแข่งขันทางเศรษฐกิจของโลก จริงหรือไม่? 6. การประกันคุณภาพแบบพอเพียง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จริงหรือไม่? 7. End point outcome of IQA คือ อะไร ?
We are what we repeatedly do. Excellence is not an act, but a habit. Aristotle
Quality is a Journey Quality is not a destination Indicator is a life
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ • Social change • Technology change • Value change (cost-effectiveness) • Customer satisfaction change • (Needs, Expectation, Specification) Quality is dynamic stage
คุณภาพของสถานศึกษา - ผลผลิตของสถานศึกษา 1. คุณภาพบัณฑิต ……? 2. คุณภาพงานวิจัย……? 3. คุณภาพงานบริการวิชาการ……? 4. คุณภาพงานทำนุบำรุงศิลปฯ……? ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต
การประกันคุณภาพ การศึกษา (OLE)-EA การประกันคุณภาพ สถานศึกษา-IA การประกันคุณภาพ โรงพยาบาล -HA ผ่านการประกันคุณภาพ หมายความว่า ?
สถาบัน วิสัยทัศน์ + พันธกิจ+แผนกลยุทธ์ (1) ประกันคุณภาพ (9) ด้านวิชาการ (2-6) ด้านบริหาร (7) แผน (ประกันคุณภาพ) (1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) การเรียนการสอน (2+3) วิจัย (4) บริการวิชาการ (5) ทำนุบำรุงศิลปฯ (7) ผลงานประกันคุณภาพ ความรู้ IQ (2) EQ+MQ (3) คุณภาพของสถาบัน ที่พัฒนาขึ้น IPO IPO IPO IPO IPO แผน (การบริหาร)(1) ดำเนินการบริหาร ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย(งบประมาณ)(8) แผน (หลักสูตร)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (กิจการนักศึกษา)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (วิจัย)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (บริการวิชาการ)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (ทำนุฯ) (1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) ผลงานบริหาร บัณฑิต ผลงานวิจัย ผลงานบริการวิชาการ ผลงานทำนุฯ บัณฑิต ความรู้คู่คุณธรรม ผลงานวิจัย ผลงานบริการวิชาการ ผลงานทำนุฯ
คุณภาพบัณฑิต • Head • Hand • Heart • Health • Happiness • Harmonization
การควบคุม/ตรวจสอบ/ประเมินการควบคุม/ตรวจสอบ/ประเมิน ผลการควบคุม/ตรวจสอบ/ประเมิน ปรับปรุงพัฒนา มีคุณภาพ(วัฒนธรรมคุณภาพ) < indicator < indicator < indicator < indicator
ทิศทางการประกันคุณภาพ 2557-2561 • ระดับหลักสูตร คณะ สถาบัน • กลุ่มสถาบัน • I PO-Outcome …IQA & EQA?....4 missions • EdPEx • World Ranking คุณภาพไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง การประกันคุณภาพไม่จำเป็นต้องทำ....ถ้าทุกคนทุกระดับในองค์กร มีวัฒนธรรมคุณภาพ
หลักการและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 • วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
วัตถุประสงค์ของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวัตถุประสงค์ของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • เพื่อกำหนดแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษาโดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดำเนินการของสถานศึกษาฯ • เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาฯมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง • เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557 • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร คณะ สถาบัน ให้สอดคล้องกับ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษามีอิสระในการเลือกระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของตนเองให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา เกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557(ต่อ) • ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเลือกใช้ • ต้องเป็นระบบที่สนองต่อเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และกฎกระทรวงฯ • อาจเป็นระบบที่ ค.ป.ภ. พัฒนาขึ้น หรือ เป็นระบบคุณภาพอื่นที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลซึ่งสามารถประกันคุณภาพได้ตั้งแต่ระดับหลักสูตร คณะวิชา และสถาบัน เช่น AUN-QAหรือ EdPEx
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557(ต่อ) • การดำเนินการของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เลือกใช้ระบบประกันคุณภาพอื่น • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องเสนอระบบประกันคุณภาพให้ ค.ป.ภ.พิจารณา • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามระบบที่เลือกใช้ทุกปี เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 48 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ และกฎกระทรวงฯ ข้อ 6
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา • การประกันคุณภาพการศึกษาภายในต้องดำเนินการตั้งแต่ • ระดับหลักสูตร • ระดับคณะ • ระดับสถาบัน • เริ่มใช้ในปีการศึกษา 2557
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • ค.ป.ภ. ได้จัดทำระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพื่อทดลองนำร่องกับหลักสูตรที่มีประกาศกระทรวงฯ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับสาขาวิชา • สกอ.จะดำเนินการเผยแพร่หลักสูตรที่ผ่านการประเมินตามระบบดังกล่าวว่าได้มาตรฐานตาม TQF ในฐานข้อมูลหลักสูตร
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • ค.ป.ภ. จัดทำระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะและสถาบัน เพื่อให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาได้นำไปใช้ เป็นแนวทางในการประกันคุณภาพ ด้วยความ สมัครใจ
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • สกอ.ได้จัดให้มี ระบบฐานข้อมูลสำหรับการประเมิน ที่สอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ ค.ป.ภ.พัฒนาขึ้นซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. และ สำนักงาน ก.พ.ร.
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • กรณีที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเลือกใช้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาอื่น นอกเหนือจากระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ ค.ป.ภ.พัฒนาขึ้นสถานศึกษาจะต้องเสนอให้ ค.ป.ภ. พิจารณา
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดส่งรายงานประจำปี ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผ่านระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online)ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับจากสิ้นปีการศึกษา ไม่ว่าจะใช้ระบบประกันคุณภาพใดๆ
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • ระบบการเปิด – ปิดภาคการศึกษาแบบเดิม • ให้จัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานตามรอบปีการศึกษาเดิม คือ ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป • จัดส่งรายงานประจำปีฯ ไปยัง สกอ.ภายในเดือนกันยายนของทุกปี
แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (ต่อ) • ระบบการเปิด – ปิดภาคการศึกษาแบบอาเซียน • ให้จัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานตามรอบปีการศึกษาของอาเซียน คือ ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนกรกฎาคมของปีถัดไป • จัดส่งรายงานประจำปีฯ ไปยัง สกอ. ภายในเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา • ตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 36 สกอ.จะดำเนินการ • ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี • แจ้งผลการติดตามฯให้สถานศึกษาทราบและเปิดเผยต่อสาธารณชน
การวิเคราะห์สภาพภายนอกการวิเคราะห์สภาพภายนอก แผนงาน งาน/โครงการ 5 ปี โอกาส Opportunity ภัยคุกคาม Threat • เป้าหมาย • กิจกรรม • เวลา • ผู้ปฏิบัติ • งบประมาณ • ตัวชี้วัด/เกณฑ์ พันธกิจ/ภารกิจ Mission จุดแข็ง Strength จุดอ่อน Weakness การวิเคราะห์สภาพภายใน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ 1. การวางแผนกลยุทธ์ ข้อมูลย้อนกลับ Feedback กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ Vision จุดมุ่งหมาย Goal วัตถุประสงค์ Objective 2. การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฏิบัติการ • การพัฒนาองค์กร และนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ • (ปรับโครงสร้าง, ระบบงาน, บุคลากร, เทคโนโลยี, วัฒนธรรมองค์กร) • - การปรับการดำเนินงาน 3. การควบคุมและประเมินผลแผนกลยุทธ์ การติดตาม ควบคุม และประเมินผล
Strategic Management Process วางแผนกลยุทธ์ Strategic Planning ติดตามผล ควบคุม Strategic Control นำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ Strategic Implementation
VUCA world V = Volatility U = Uncertainty C = Complexity A = Ambiguous
VUCA leadership V = Vision U = Understanding C = Clarity A = Agility
PPP Purpose Principle Priority
PPP Private Public Partnership