1 / 49

ผศ. ธัชวรรณ หงษ์ นาค สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เทพสตรี

จิตวิทยาสำหรับครู Psychology for Teacher. ผศ. ธัชวรรณ หงษ์ นาค สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เทพสตรี. วิชาจิตวิทยาสำหรับครู ( Psychology for Teachers ). เนื้อหารายวิชา.

morley
Download Presentation

ผศ. ธัชวรรณ หงษ์ นาค สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เทพสตรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จิตวิทยาสำหรับครู Psychology for Teacher ผศ.ธัชวรรณหงษ์นาคสาขาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

  2. วิชาจิตวิทยาสำหรับครู( Psychology for Teachers ) เนื้อหารายวิชา จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติพัฒนาการของผู้เรียนและการเรียนรู้ประยุกต์จิตวิทยา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว และการให้คำปรึกษา

  3. สัปดาห์ที่ 1 หัวข้อ 1 ความรู้เบื้องต้นทางจิตวิทยา หัวข้อ 2 แนวความคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ สัปดาห์ที่ 2 หัวข้อ 1 จิตวิทยาพัฒนาการ หัวข้อ 2การเรียนรู้และองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ (สอบเก็บคะแนน) สัปดาห์ที่ 3 หัวข้อ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หัวข้อ 2 กิจกรรมแนะแนว (สอบปลายภาค)

  4. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางจิตวิทยา

  5. จิตวิทยา (Psychology) จิต + วิทยา Psycho + logy Psychoรากศัพท์มาจาก psyche = mind = จิตใจ, วิญญาณ logy รากศัพท์มาจาก logos = study = การศึกษา การศึกษาเกี่ยวกับจิตและวิญญาณ(A Study of Soul and mind)

  6. จอร์น บี วัตสัน (John B.Watson) การศึกษาที่เกี่ยวกับพฤติกรรม(A Study of Behavior)

  7. ความหมายของพฤติกรรม พฤติกรรม (Behavior) : การกระทำหรือกิจกรรมต่างๆ ที่มนุษย์แสดงออกมา เมื่อมีสิ่งใดมากระตุ้น (Stimulus) ให้แสดงการตอบสนอง (response) ทั้งที่สามารถสังเกตเห็นได้ และไม่สามารถสังเกตเห็นได้ อินทรีย์O (organize) การตอบสนองR (response) สิ่งเร้าS (stimulus)

  8. พฤติกรรมมนุษย์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) 1.1 พฤติกรรมหน่วยใหญ่ (molar behavior) 1.2 พฤติกรรมหน่วยย่อย (molecular behavior) 2. พฤติกรรมภายใน (covert behavior)

  9. จุดมุ่งหมายของการศึกษาพฤติกรรมจุดมุ่งหมายของการศึกษาพฤติกรรม 1. เพื่อบรรยายลักษณะพฤติกรรม 2. เพื่ออธิบายสาเหตุของพฤติกรรม 3. เพื่อทำนายผลของพฤติกรรม 4. เพื่อการกำหนดและควบคุมพฤติกรรม 5. เพื่อเข้าใจความแตกต่างของบุคคล

  10. 1. การศึกษารายกรณี 2. การสังเกต 3. การสัมภาษณ์ 4. การเยี่ยมบ้าน 5. การเขียนอัตชีวประวัติ 6. บันทึกประจำวัน 7. แบบสอบถาม 8. แบบทดสอบ วิธีการรวบรวมข้อมูลทางจิตวิทยาเพื่อศึกษาพฤติกรรม เป็นต้น

  11. 1. การศึกษารายกรณี (Case Study) • หมายถึง การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล หรือศึกษารายละเอียดต่างๆ อย่างลึกซึ้งต่อเนื่องกันไปเป็นระยะเวลาใดเวลาหนึ่งและวิเคราะห์ วินิจฉัยถึงสาเหตุของพฤติกรรมที่เป็นปัญหาพร้องทั้งแนวทางในการช่วยเหลือ การป้องกัน และการส่งเสริม เพื่อให้บุคคลที่ถูกศึกษานั้นอยู่ในสังคมในสังคมอย่างมีความสุข

  12. จุดมุ่งหมายของการศึกษารายกรณีจุดมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี 1. เพื่อการรู้จัก และเข้าใจบุคคลได้ดีขึ้น 2. เพื่อการวินิจฉัยอันเป็นประโยชน์ต่อการให้ความช่วยเหลือบุคคล 3. เพื่อค้นคว้าวิจัย ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี 1. ทางตรง เกิดกับผู้ศึกษา 2. ทางอ้อม เกิดกับผู้รับการศึกษา

  13. กระบวนการในการศึกษารายกรณีกระบวนการในการศึกษารายกรณี กระบวนการศึกษารายกรณีสามารถแบ่งได้ออกเป็น 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาสภาพและจัดระบบข้อมูล 2. กำหนดขอบข่ายและตั้งสมมติฐาน 3. การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 4. การวินิจฉัย 5. การช่วยเหลือ ป้องกัน และส่งเสริม 6. การทำนายผล 7. การติดตามผล 8. การสรุปผลและข้อเสนอแนะ

  14. วิธีการควบคู่ในการศึกษารายกรณีวิธีการควบคู่ในการศึกษารายกรณี 1. การศึกษาประวัติรายกรณี (Case history) 2. การประชุมศึกษารายกรณี มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ • ขั้นเตรียมการ • ขั้นดำเนินการประชุม • ขั้นยุติการประชุม

  15. 2. การสังเกต (Observation) • หมายถึง การพิจารณาสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายๆสิ่งของ บุคคลในลักษณะที่เป็นจริงตามธรรมชาติโดยการใช้อวัยวะรับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้ง 5 ส่วน (หู, ตา, จมูก, ลิ้น และผิวหนัง) ประเภทของการสังเกต • การสังเกตแบบเป็นพิธีการ (formal observation) • การสังเกตแบบไม่เป็นพิธีการ(informal observation)

  16. หลักการสังเกต • ต้องมีจุดมุ่งหมายในการสังเกต • มีการวางแผนที่ดี • สังเกตบุคคลเพียงคนเดียวในแต่ละสถานการณ์ • เลือกสังเกตพฤติกรรมที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง • สังเกตพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง • จดบันทึกภายหลังการสังเกต • ควรมีผู้สังเกตหลายคน • ควรทำแบบพิธีการและไม่เป็นพิธีการควบคู่กัน • ควรมีเวลาในการสังเกตแต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 15 นาที • การสังเกตในแต่ละครั้งจะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ความตั้งใจ การรับรู้ และความไวของการรับรู้

  17. 3. การสัมภาษณ์ (Interview) • หมายถึง การสนทนาหรือการพูดคุยกันระหว่างบุคคล ตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายในการสนทนา ซึ่งอาศัยสัมพันธภาพและมนุษย์สัมพันธ์ เป็นกุญแจสำคัญในการสนทนา ประเภทของการสัมภาษณ์ • การสัมภาษณ์เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง (Fact finding interview) • การสัมภาษณ์เพื่อให้คำปรึกษา (Counselinginterview) “ Help him to help himself”

  18. การสัมภาษณ์เพื่อให้คำปรึกษา (Counselinginterview) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ คือ 1.ขั้นก่อนการให้คำปรึกษา 2. ขั้นขณะการให้คำปรึกษา 3. ขั้นยุติการให้คำปรึกษา

  19. 4. การเยี่ยมบ้าน (Home visit) • เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและร่วมมือกับบิดามารดาหรือผู้ปกครอง ในการช่วยเหลือผู้รับการศึกษา • ข้อมูลที่ได้ เช่น สภาพทั่วไปของบ้าน สภาพแวดล้อม สัมพันธภาพในครอบครัว เป็นต้น

  20. 5. การเขียนอัตชีวประวัติ (Autobiography) • เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้บุคคลยอมรับตนเอง โดยการเขียนเรื่องราวของตนเอง ตั้งแต่ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ • แบบกำหนดหัวข้อ (Control autobiography) • แบบไม่กำหนดหัวข้อ (Unstructured) 6. บันทึกประจำวัน (Diary) • เป็นการเขียนบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เปิดเผยความรู้สึกส่วนตัวที่มีต่อเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมรอบตัวและการเขียนควรเขียนต่อเนื่องอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 1 สัปดาห์ • ** เครื่องมือนี้มักใช้ควบคู่กับการเขียนอัตชีวประวัติ **

  21. 7. แบบสอบถาม (Questionnaires) • แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นชุดคำถาม ข้อความแต่ละ ข้อความเน้นที่คำถามเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง 8. แบบทดสอบ (Tests) • การใช้แบบทดสอบ เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีระบบ มีกฎเกณฑ์ ที่แน่นอนชัดเจน มีความเป็นมาตรฐาน แบบทดสอบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ • 1. แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา (Intelligence tests) • 2. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personalitytests)

  22. แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา (Intelligence tests) • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. แบบทดสอบแบบรายบุคคล (Individual Test) 2. แบบทดสอบรายกลุ่ม (Group Test) แบบทดสอบบุคลิกภาพ • แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท • 1. แบบทดสอบบุคลิกภาพที่เป็นปรนัย (Objective type)

  23. Rorschach Ink blot Test • Thematic Apperception Test • Sentence Completion Test (S.C.T.) • EQ Test • Draw A Person (D.A.P) • Bender Gestalt Test 2.แบบทดสอบบุคลิกภาพที่เป็นโปรเจคทีฟ (Profective Tests)

  24. บทที่ 2 แนวคิดทางจิตวิทยา

  25. กลุ่มโครงสร้างนิยม (Structuralism) • กลุ่มหน้าที่แห่งจิต (Functionalism) • กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) • กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) • กลุ่มเกสตัลท์(The Gestalt) • กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)

  26. 1. กลุ่มโครงสร้างนิยม (structuralism) - ผู้นำ Wilhelm Max Wundt ชาวเยอรมัน - สร้างห้องทดลองทางจิตวิทยา เมือง leipzig - บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง - เชื่อเรื่อง จิตธาตุ 2. กลุ่มหน้าที่แห่งจิต (Functionalism) - ผู้นำ William James and john Dewey - เชื่อเรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม

  27. 3. กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) - ผู้นำ John B. Watson ชาวเยอรมัน - ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง - ศึกษาความสัมพันธ์พฤติกรรมภายในมากกว่าภายนอก แนวความคิดที่สำคัญ 1. การวางเงื่อนไข (Conditioning) 2. พฤติกรรมของบุคคลเกิดจากเงื่อนไข มากกว่าตามธรรมชาติ 3. ศึกษาพฤติกรรมที่สังเกตได้ 4. ยอมรับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5. พฤติกรรมการเรียนรู้ชองมนุษย์และสัตว์มีความใกล้เคียงกัน

  28. 4. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) - ผู้นำ Sigmund Freud จิตแพทย์ชาวยิว - เชื่อเรื่องจิตไร้สำนึก (Unconscious) - ประสบการณ์ในวัยเด็กมีความสำคัญ ต่อพัฒนาบุคคล - ใช้วิธีการระบายความในใจ (Free association)

  29. จิตที่ควบคุมพฤติกรรม โครงสร้างด้านบุคลิกภาพ 1. จิตสำนึก 1. อิด (ld)2. จิตกึ่งสำนึก - Life Instinct 3. จิตไร้สำนึก - Death Instinct 2. อีโก้ (ego) 3. ซุปเปอร์อีโก้ (Super ego)

  30. กลไกการป้องกันตัวเอง กลไกการป้องกันตัวเอง 1.การหาสาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง • องุ่นเปรี้ยว • มะนาวหวาน 2. การเก็บกด 3. การทดเทิด 4. การทดแทน 5. การชดเชย

  31. 6. การโทษผู้อื่น 7. การโทษตัวเอง 8. การเรียนแบบ 9. การถดถอย 10. การฝั่นเฟื่อง 11. การกลบเกลื่อน 12. ความก้าวร้าว 13. ซึมเศร้า 14. การปฏิเสธ 15. การแทนที่

  32. ผู้นำ คือ Max Wertheimer ชาวเยอรมัน form or pattern - Gestalt the wholeness- หลักการเรียนรู้ “ ส่วนรวม ส่วนย่อย กลุ่มเกสตัลท์(Gestalt) พฤติกรรมการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ1. การเรียนรู้1.1 กฎแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน

  33. 1.2 กฎแห่งความใกล้ชิด 1.3 กฎแห่งความคล้ายคลึง

  34. 1.4กฏแห่งความต่อเนื่อง ก 1.5กฏแห่งความสิ้นสุด 2.1 การหยั่งเห็น (Insight) กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) • ผู้นำ Carl R. Rogers and Abraham H. Maslow- มองคุณค่าความเป็นมนุษย์- มนุษย์มีแต่สิ่งดีงาม

  35. บทที่ 3พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)

  36. คำศัพท์ที่สำคัญ 1. พัฒนาการ (Development) 2. การเจริญเติบโต (Growth) ความหมาย : จิตวิทยาพัฒนาการ (Development Psychology) 3. พันธุกรรม (Heredity)

  37. คำศัพท์ที่สำคัญ (ต่อ) 4. สิ่งแวดล้อม (Environment) 5. ลำดับขั้นของการพัฒนา (Sequence) 6. อายุตามปฏิทิน (Chronological Age) 7. อายุสมอง (Mental Age) 8. ระยะปฏิเสธ (Negative Stage) 9. บุคลิกภาพ (Personality)

  38. ทฤษฏีบุคลิกภาพของเชลดอน ( Sheldon theory ) 1. ประเภทผอม ( ectomorphy ) 2. ประเภทอ้วน ( endomorphy ) 3. ประเภทสมส่วน ( mesomorphy )

  39. ทฤษฏีบุคลิกภาพของคาร์ล จี จุง ( Carl G. Jung ) 1. ประเภทเก็บตัว ( introvert ) 2. ประเภทแสดงตัว ( extrovert ) 3. ประเภทปรับตัว ( ambivert )

  40. ทฤษฏีบุคลิกภาพของเครชเมอร์ ( Kretschmer ) 1. ประเภทผอม - สูง ( asthenic ) 2. ประเภทอ้วนเตี้ย ( pyknic ) 3. ประเภทนักกีฬา ( athletic ) 4. ประเภทปมด้อย ( dysptastic )

  41. คำศัพท์ที่สำคัญ (ต่อ) 10. วุฒิภาวะ (Maturation) 11. การเรียนรู้ (Learning)

  42. ทฤษฎีพัฒนาการ (Theories of Development) 1. พัฒนาการมนุษย์ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Freud’s Psychosexual) ขั้นที่ 1 พัฒนาการขั้นปาก ( Oral Stage ) 0 –2 ปี ขั้นที่ 2 พัฒนาการขั้นทวาร ( Anal Stage ) 2 – 3 ปี1.1 perfectionist 1.2 anti - social ขั้นที่ 3 พัฒนาการขั้นเพศ ( Phallic Stage ) 3 – 5 ปี 1.1 ปมอิจฉา Electra Complex 1.2 ปมอิจฉา Oedipus Complex ขั้นที่ 4 พัฒนาการขั้นแฝง (Latency Stage) 6 – 12 ปี ขั้นที่ 5 พัฒนาการขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) 12 ปีขึ้นไป

  43. 2. พัฒนาการมนุษย์ตามทฤษฎีของอิริคสัน( Erikson’s psychosocial stage of development ) ขั้นที่ 1 ระยะเชื่อถือไว้วางใจกับความระแวงไม่ไว้วางใจ อายุตั้งแต่แรกเกิด – 1 ปี ขั้นที่2 ระยะที่มีความอิสระกับความสงสัยไม่แน่ใจ อายุ 2 – 3 ปี ขั้นที่3 ระยะมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด อายุระหว่าง 3 – 5 ปี ขั้นที่4 ระยะที่มีความขยันหมั่นเพียรกับความรู้สึกมีปมด้อย อายุระหว่าง 6 – 11 ปี ขั้นที่5 ระยะการมีเอกลักษณ์ของตนเองกับความไม่เข้าใจตนเอง อายุระหว่าง 12 – 18 ปี ขั้นที่6 ระยะความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง อายุระหว่าง 19 – 25 ปี ขั้นที่7 ระยะการให้กำเนิดและเลี้ยงดูบุตรกับการใฝ่ใจอยู่กับตนเอง อายุตั้งแต่ 26 ปีขึ้นไป ขั้นที่8 ระยะความมั่นคงทางจิตใจกับความสิ้นหวัง อายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป

  44. 3. ทฤษฏีพัฒนาการของเปียเจท์( Piaget’s theory of cognitive development ) 1. ระยะของการใช้ร่างกายและประสาทสัมผัส ( Sensorimotor period ) อายุ 0 - 1 ปี 2. ระยะของการเริ่มมีความคิดความเข้าใจ ( pre-operational period ) อายุ 2 - 7 ปี 2.1 perconceptual thought อายุ 2 - 4 ปี 2.2 intuitive thought อายุ 4 - 7 ปี 3. ขั้นของการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational period) อายุ 7 - 11 ปี 4. ขั้นของการใช้คิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม ( formal operational period )เด็กจะมีอายุ ระหว่าง 12 ปีจนถึงวัยผู้ใหญ่

  45. 4. พัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก(Kohlberg’s Moral Development) 1. ระดับก่อนเกณฑ์ทางสังคม (Pre-conventional Level) 1.1 ขั้นการลงโทษและเชื่อฟัง (o - 7 ปี) 1.2 ขั้นแสวงหารางวัล ( 7 - 10 ปี) 2. ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ทางสังคม (Conventional Level) 2.1 ขั้นทำตามเพื่อนและสิ่งที่สังคมยอมรับ (10 - 13 ปี) 2.2 ขั้นกฎและระเบียบ (13 - 16 ปี) 3. ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์ทางสังคม (Post- conventional Level) 3.1 ขั้นทำตามสัญญา (6 ปีขึ้นไป) 3.2 ขั้นอุดมคติสากล (วัยผู้ใหญ่ขึ้นไป)

  46. ชนิดต่าง ๆ ของการเปลี่ยนแปลงทางพัฒนาการ อาจแบ่งออกได้ 4 ชนิด 1. การเปลี่ยนแปลงทางขนาด 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสัดส่วน 3. ลักษณะเดิมหายไป 4. ลักษณะใหม่ ๆ เกิดขึ้น

  47. ลักษณะของการพัฒนาการ 1. พัฒนาการเป็นไปตามแบบฉบับ 2. เริ่มจากส่วนใหญ่ก่อนส่วนย่อย 3. พัฒนาการทั้งหลายเป็นสิ่งต่อเนื่องกันไป 4. อัตราพัฒนาการของเด็กแต่ละคนอาจแตกต่างกัน 5. อัตราพัฒนาการส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแตกต่างกัน 6. พัฒนาการของคุณสมบัติต่าง ๆ มักจะสัมพันธ์กัน 7. พัฒนาการของเด็กอาจทำนายได้ 8. พฤติกรรมบางชนิดเป็นไปตามลักษณะของพัฒนาการ

  48. สาเหตุต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็ก 6. การบาดเจ็บหรือได้รับโรคภัยไข้เจ็บ 1. สติปัญญา 2. เพศ 7. เชื้อชาติ 3. ต่อมต่าง ๆ ในร่างกาย 8. วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต 4. อาหาร 9. ตำแหน่งในครอบครัว 5. อากาศบริสุทธิ์และแสงแดด 10. การอบรมเลี้ยงดู

  49. พัฒนาการในวัยต่าง ๆ 1. วัยทารก (Infancy) 2. วัยเด็ก (Childhood) 3. วัยรุ่น (Adolescence) 4. วัยผู้ใหญ่ (Adulthood) 5. วัยชรา (Old Age)

More Related