850 likes | 1.48k Views
ทฤษฎีผู้นำ. 1.Great Man Theory. ผู้นำเป็นมาแต่กำเนิด ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ เป็นโดยสายเลือดและกรรมพันธุ์. ศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำ. ผู้นำเป็นใคร มีคุณลักษณะพิเศษอย่างไร. การศึกษาผู้นำในอดีตพบว่า. รูปร่างสูงใหญ่ แข็งแรง บึกบึน อดทน เสียงมีพลัง ดวงตาเป็นประกาย
E N D
1.Great Man Theory • ผู้นำเป็นมาแต่กำเนิด ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ • เป็นโดยสายเลือดและกรรมพันธุ์
ศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำ • ผู้นำเป็นใคร • มีคุณลักษณะพิเศษอย่างไร
การศึกษาผู้นำในอดีตพบว่าการศึกษาผู้นำในอดีตพบว่า • รูปร่างสูงใหญ่ • แข็งแรง บึกบึน • อดทน • เสียงมีพลัง • ดวงตาเป็นประกาย • ฉลาดและบุคลิกดี
ศึกษาจากผู้นำโดยตรง • คุณลักษณะผู้นำไม่ได้ติดตัวมาแต่เกิด สามารถเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และประสบการณ์
มีความฉลาด รู้จักวิเคราะห์ มีความกระตือรือร้น มีความกล้าหาญ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีศิลปะในการจูงใจ มีอำนาจ บุคลิกดี มีความยืดหยุ่น รู้กาลเทศะ เป็นคนเปิดเผย ฯลฯ Luthans.1981
3.Behavioral Theory • ศึกษาพฤติกรรมผู้นำที่แสดงออก • พยายามหาผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ใช้ได้ทุกสถานการณ์
3.1 การศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยแห่งโอไฮโอ • เพื่อบ่งชี้พฤติกรรมผู้นำ • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้ตาม • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่มีประสิทธิภาพ
แบบสอบถาม : LBDQ(The Leader Behavior Descriptive)แบบสอบถาม : LOQ (The Leader Opinion Questionnaire)
ผลการศึกษา • พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure) • พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ (consideration)
3.2 การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของมหาวิทยาลัยมิชิแกน • เพื่อบ่งชี้พฤติกรรมผู้นำ • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้ตาม • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่มีประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา • พฤติกรรมมุ่งงาน • พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์
พฤติกรรมมุ่งงาน ผู้ตามมีขวัญและกำลังใจในการทำงานสูงกว่าผู้บริหารที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน
Blake and Mouton.1964 แบบทำงานเป็นทีม แบบมิตรภาพสังสรรค์ สูง พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ พฤติกรรมมุ่งงาน สูง ต่ำ
4.1 แบบเรื่อยเฉื่อย (impoverished) • ไม่สนใจผลสำเร็จของงาน ไม่กระตุ้นจูงใจสมาชิก หลีกเลี่ยงการตัดสินใจ ไม่มีข้อมูลป้อนกลับการทำงาน สร้างบรรยากาศแบบเฉื่อยชา
4.2 แบบมิตรภาพสังสรรค์ (country club) • เน้นความเป็นมิตรและความพึงพอใจของสมาชิก ทำหน้าที่ตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ สร้างบรรยากาศแห่งมิตรภาพ สนใจกิจกรรมทางสังคมมากกว่าที่จะมุ่งผลงานจริง
4.3 แบบเน้นงาน (task) • ให้ความสำคัญผลงานเป็นหลัก ไม่สนใจความสู้สึกของสมาชิก ดำเนินการวางแผนและตัดสินใจเอง สร้างบรรยากาศ แพ้- ชนะ ข่มขู่สมาชิกให้ทำงานและให้ผลป้อนกลับในทางลบ ทำให้สมาชิกต่อต้านองค์การและหาทางทำลายองค์การ
4.4 ผู้นำแบบเดินสายกลาง (middle of the road) • ตัดสินใจด้วยการโหวต ให้ความสำคัญทั้งงานและคนในระดับปานกลาง ให้ผลป้อนกลับแบบไม่จริงจัง จำกัดความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิก ทำงานเพื่อรักษาสภาพการณ์ให้ปกติเท่านั้น
4.5 แบบทำงานเป็นทีม (team) • เปิดโอกาสให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหาและข้อขัดแย้ง • ร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ • สร้างบรรยากาศบนพื้นฐานของการยอมรับ เชื่อถือและศรัทธราซึ่งกันและกัน • ป้อนกลับด้วยการประเมินอย่างมีเหตุผล
ฐานคติของทฤษฎี X • คนทั่วไปไม่ชอบทำงาน และจะหลีกเลี่ยงงานหากมีโอกาส • ต้องบังคับ ควบคุม สั่งการ ข่มขู่ และทำโทษงานจึงจะเสร็จ
คนทั่วไปชอบให้คนอื่นสั่งการ หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย และต้องการความปลอดภัยเหนือสิ่งอื่นใด
ฐานคติของทฤษฎี Y • การทำงานของร่างกายและสมองเป็นเรื่องธรรมชาติ เหมือนการพักผ่อน
การควบคุมและการลงโทษไม่ใช่วิธีการเดียวที่จะทำให้คนทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ คนเราจะบังคับและควบคุมตนเองทำงานที่รับผิดชอบให้สำเร็จ
ความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้สำเร็จ ถือเป็นรางวัลของของด้วย
คนโดยทั่วไปจะเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์ที่เหมาะสม ไม่เพียงแต่มีความรับผิดชอบแต่จะแสวงหาความรับผิดชอบ
คนทั่วไปมีความสามารถในการคิด มีความฉลาดและมีความคิดสร้างสรรค์ที่จะแก้ปัญหาองค์การ
ความสามารถทางด้านสติปัญญาของคนโดยทั่วไปถูกนำออกมาใช้เพียงบางส่วนความสามารถทางด้านสติปัญญาของคนโดยทั่วไปถูกนำออกมาใช้เพียงบางส่วน
Hersey and Blanchard theory The Situational Leadership
ผู้นำจะประสบผลสำเร็จในการนำย่อมขึ้นอยู่กับการเลือกใช้แบบผู้นำของตนเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้ตามผู้นำจะประสบผลสำเร็จในการนำย่อมขึ้นอยู่กับการเลือกใช้แบบผู้นำของตนเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้ตาม
วุฒิภาวะของผู้ตาม • M1 – ไม่เต็มใจรับผิดชอบงาน และไม่มีความสามารถรับผิดชอบงาน • M2- เต็มใจรับผิดชอบงาน แต่ไม่มีความสามารถรับผิดชอบ
วุฒิภาวะของผู้ตาม • M3 – มีความสามารถในการรับผิดชอบ แต่ไม่เต็มใจรับผิดชอบ • M4 - เต็มใจรับผิดชอบงานและมีความสามารถรับผิดชอบ
แบบมีส่วนร่วม แบบขายความคิด พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ แบบสั่งการ แบบกระจายอำนาจ สูง ต่ำ พฤติกรรมมุ่งงาน วุฒิภาวะผู้ตาม สูง ต่ำ
S1 – ผู้นำแบบสั่งการ (telling)ผู้นำชอบสั่งการและบงการให้ผู้อื่นทำตาม มีการตัดสินใจด้วยตนเอง และใช้การสื่อสารทางเดียว เหมาะกับ M1
S2 – ผู้นำแบบขายความคิด (selling)ผู้นำยังใช้การสั่งการ พยายามใช้การสื่อสารสองทาง ใช้หลักชักสังคมวิทยาในการโน้มน้าวจูงใจให้ผู้อื่นคล้อยตามในการตัดสินใจ M2
S3 – ผู้นำแบบมีส่วนร่วม (participating)ผู้นำที่ให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเต็มที่ มีการปรึกษาหารือ การวางแผน และแก้ปัญหาร่วมกัน เหมาะกับ M3
S4 – ผู้นำแบบกระจายอำนาจ (delegating)ผู้นำที่กระจายอำนาจและมอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้ตามตัดสินใจเลือกวิธีการทำงานด้วยตนเอง โดยผู้นำจะไม่เข้าไปก้าวก่าย เหมาะกับ M1
ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของ Fiedler • แบ่งผู้นำออกเป็น 2 แบบ • ผู้นำแบบมุ่งงาน (Task- Oriented) • ผู้นำแบบมุ่งสัมพันธ์ (Relationship -Oriented)
สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Leadership-Member Relations : ผู้นำจะได้รับการยอมรับมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์และความคาดหมายของผู้ใต้บังคับบัญชา
สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Task Structure : โครงสร้างของงานมีความแน่นอนหรือมีความคลุมเครือ
สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Position Power : อำนาจที่เป็นทางการที่องค์การกำหนดไว้ ถ้ากำหนดไว้มาก ก็มีอิทธิพลต่อบุคคลอื่นมาก
มุ่งสัมพันธ์ 5 4 6 7 3 1 มุ่งงาน 2 8 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ใต้บังคับบัญชา โครงสร้างของงาน อำนาจในตำแหน่ง
การเข้ากันได้เป็นการส่วนตัวการเข้ากันได้เป็นการส่วนตัว ความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลิกภาพที่แสดงออก ผู้นำ ความสัมพันธ์เป็นทางการ ไว้วางใจ ปฏิสัมพันธ์สูง ผู้ใต้บังคับบัญชา A ผู้ใต้บังคับบัญชา B ผู้ใต้บังคับบัญชา C ผู้ใต้บังคับบัญชา D ผู้ใต้บังคับบัญชา E ผู้ใต้บังคับบัญชา F ในกลุ่ม นอกกลุ่ม
แบ่งผู้นำเป็น 4 แบบ • 1. ผู้นำแบบชี้นำ (Directive Leader Behavior) ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารู้ในสิ่งที่ตนเองคาดหวัง มีการกำหนดแนวทางและชี้นำ และกำหนดตารางการทำงาน
2. ผู้นำแบบสนับสนุน (Supportive Leader Behavior) ให้ความเป็นมิตร มีการจัดสวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา และให้ความเป็นธรรมกับทุกคน