690 likes | 1.24k Views
21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ. ในแต่ละระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ ด้วยกันย่อมมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน และสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อาศัยอยู่. “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใด ปัจจัยทางกายภาพ จึงมีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต” ศึกษาได้จาก หัวข้อต่อไปนี้.
E N D
21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ในแต่ละระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ ด้วยกันย่อมมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน และสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อาศัยอยู่
“นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใด ปัจจัยทางกายภาพ จึงมีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต” ศึกษาได้จาก หัวข้อต่อไปนี้
21.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
อุณหภูมิ มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของ สิ่งมีชีวิต • เป็นปัจจัยในการควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์และการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต
อุณหภูมิ • มีผลทำให้มีการปรับตัวทางด้านโครงสร้าง เช่น มีขนยาวปกคลุม มีชั้นไขมันหนาอยู่ใต้ผิวหนัง
อุณหภูมิ • มีการปรับตัวด้านพฤติกรรม เช่น การอพยพหนีหนาวของนกปากห่าง ชั่วคราวจากตอนเหนือลงมาตอนใต้ของทวีปเอเชีย
แสง มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศโดย • เป็นปัจจัยจำกัดของพืชที่เจริญอยู่ใต้ทะเลลึกระดับต่างๆ
แสง • มีผลต่อการสร้างอาหารของพืช ดังภาพที่ 21-31 • มีผลต่อการสืบพันธุ์ของพืชและสัตว์บางชนิด
แสง • มีผลต่อการเกิดพฤติกรรมต่างๆของพืชและสัตว์บางชนิด
ความชื้น คือ ปริมาณน้ำที่มีอยู่ใน สภาพแวดล้อมแต่ละแห่งมีความ สำคัญต่อระบบนิเวศ เนื่องจาก.....
ความชื้น • เป็นปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสภาพ แวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ลักษณะและชนิดของระบบนิเวศนั้น ๆ
ความชื้น • มีผลต่อการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ ดังภาพที่ 21-32
แก๊ส ที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตคือ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และ ไนโตรเจน
แก๊ส • โดยเฉพาะแก๊สออกซิเจนมีความสำคัญในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด
แก๊ส • พวกที่อยู่บนบก จะได้รับแก๊สออกซิเจนอย่าพอเพียง • พวกที่อยู่ในน้ำ แก๊สออกซิเจนจะเป็นปัจจัยจำกัดในการดำรงชีพที่สำคัญ
ดิน เป็นที่อยู่อาศัยและให้แร่ธาตุแก่พืชและสัตว์ • องค์ประกอบที่สำคัญของดิน คือ แร่ธาตุในดิน อากาศ ความชื้น ปริมาณสารอินทรีย์ในดิน
ดิน • ลักษณะของดินจึงมีอิทธิพลต่อพืชและสัตว์มาก • สัตว์ได้รับแร่ธาตุจาก • การบริโภคพืช • การบริโภคแร่ธาตุจากดินโดยตรง
ความเป็นกรด – เบส ของดินและน้ำ หรือ เรียกว่า ค่า pH • เป็นปัจจัยที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับที่อยู่อาศัยแต่ละแห่ง เช่น
แบคทีเรียและราซึ่งย่อยสลายสารอินทรีย์ทำให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกรดสูงแบคทีเรียและราซึ่งย่อยสลายสารอินทรีย์ทำให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกรดสูง
การขับถ่ายของเสียของสิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น สัตว์ปีกจะขับถ่ายกรดยูริกลงในดินและน้ำเป็นเวลา นานๆ ทำให้บริเวณนั้น มีสภาพ pH ค่อนข้างต่ำ และเป็นกรด
21.3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ ในระบบนิเวศแต่ละแห่ง จะมี สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ที่มีความ สัมพันธ์กันในหลากหลายรูปแบบ
โดยปกติ นิยมใช้สัญลักษณ์แทน ความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ โดยที่........ (+) แทนการได้ประโยชน์ (-) แทนการเสียประโยชน์ (0) แทนการไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
1. ภาวะพึ่งพากัน(mutualism) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด • ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์(+/+) • แต่แยกจากกันแล้วจะทำให้การดำรงชีวิตไม่เป็นปกติหรืออาจตายได้ เช่น
โพรโทซัวในลำไส้ปลวก – ปลวก • ไลเคน ซึ่งเป็น รา – สาหร่ายสีเขียว • ไรโซเบียม – รากพืชตระกูลถั่ว • ไมคอร์ไรซา - พวกสน Mutualism: Lichen on Mangrove http://members.optusnet.com.au/~janewest000/Mangrove/interactions.html
2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล(commensalism) เป็นความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด อาศัยร่วมกัน โดยที่ • ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์(+) • อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์(0) เช่น
กล้วยไม้ -ต้นไม้ใหญ่ • เหาฉลาม - ปลาฉลาม • เพรียง - ปลาวาฬ • แบคทีเรีย – ผิวหนังคน • ผึ้งหรือนกทำรังบนต้นไม้ http://www.settomorrow.com/images/mboard_1181544607/1181544607.jpg
3. ภาวะปรสิต(parasitism) เป็น การอยู่ร่วมกันที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งไปอาศัยสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง • ผู้ที่ไปอาศัย เรียกว่าปรสิต(parasite) ได้ประโยชน์(+) • ผู้ถูกอาศัยเรียกว่า โฮสต์(host)เสียประโยชน์(-)
กาฝากบนต้นไม้ • พยาธิต่าง ๆ ในคนและสัตว์ • เพลี้ย กับ ต้นไม้ • เห็บ กับ สุนัข • ไร กับ ไก่ From Mangrove Agfact 1985 R WestParasitism Mistletoe on Mangrove http://members.optusnet.com.au/~janewest000/Mangrove/interactions.html
http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.htmlhttp://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html
4. การล่าเหยื่อ(predation) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่... • ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ล่า (predator) ได้ประโยชน์(+) • อีกฝ่ายหนึ่งเป็นเหยื่อ(prey)ซึ่งเสียประโยชน์(-)
แมว กิน หนู • นก กิน แมลงและ กบก็กินแมลง • งู กิน กบ • เสือ กิน กวาง http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html
5. ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน(competition) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอาจเป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน ที่มีความต้องการในสิ่งที่เหมือนกัน แต่สิ่งนั้นมีจำกัด ทำให้เสียประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ (- / -)..
สัตว์แย่งกันครอบครองที่อยู่อาศัยสัตว์แย่งกันครอบครองที่อยู่อาศัย • สัตว์แย่งชิงอาหาร • ฝูงปลาแย่งกันหุบเหยื่อ • ต้นจอกและต้นบัวในน้ำ ศึกษาจากภาพ 21 – 34 และ 21 – 35
6. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) เป็นการอยู่ร่วมกัน ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ได้ประโยชน์ใน การอยู่ร่วมกัน(+ / +)
แต่เมื่อแยกจากกันก็สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติแต่เมื่อแยกจากกันก็สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ • นกเอี้ยง กับ ควาย • แมลง กับ ดอกไม้ • ปูเสฉวน กับ ดอกไม้ทะเล • มดดำ กับ เพลี้ย
การได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)ใช้สัญญลักษณ์ +, + http://www.ras.ac.th/link15/webweerawut/web/ecosystem1_files/frame.htm#slide0057.htm