380 likes | 515 Views
การเสนอโครงการวิจัย. น.อ.พีรพล อังศุธร. ที่มาและสาเหตุของปัญหา. 1. ต้องการทราบว่ากราฟความสัมพันธ์ของค่า Parameter ทั้ง 4 ค่า คือ CBR, Bearing Value, K และ R Value ใช้ได้จริงหรือไม่. 2. การอ่านค่าจากกราฟความสัมพันธ์ได้ค่าที่ไม่ละเอียด เป็นค่าโดยประมาณ.
E N D
ที่มาและสาเหตุของปัญหาที่มาและสาเหตุของปัญหา 1. ต้องการทราบว่ากราฟความสัมพันธ์ของค่า Parameter ทั้ง 4 ค่า คือ CBR, Bearing Value, K และ R Value ใช้ได้จริงหรือไม่ 2. การอ่านค่าจากกราฟความสัมพันธ์ได้ค่าที่ไม่ละเอียด เป็นค่าโดยประมาณ 3. สามารถที่จะแทนค่าลงในสมการความสัมพันธ์ แทนการอ่านจากกราฟความสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติการรับน้ำหนักของดินชนิดเดียวกัน โดยการทดลองหาค่า CBR , Bearing Value และ K 2 เพื่อเขียนสมการความสัมพันธ์ของค่า CBR , Bearing Value และ K 3 เพื่อศึกษารายละเอียดของเครื่องมือและวิธีการทดลองหาค่าความสามารถ ในการรับน้ำหนักของดินโดยวิธี Field CBR และ Plate Bearing
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 สร้างสมการความสัมพันธ์ของค่า CBR , Bearing Value และ K 2 สามารถออกแบบพื้นถนนลาดยางโดยใช้ค่า CBR , Bearing Value และ K ได้ 3 สามารถแปลงค่า CBR เป็น Bearing Value และค่า K ได้
สมมติฐาน 1 ค่าความสามารถในการรับน้ำหนักของดินชนิดเดียวกัน ซึ่งทำการทดลอง ต่างวิธีกัน (CBR, Bearing Value, K) น่าจะมีความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกัน 2 ค่าความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถเขียนสมการความสัมพันธ์และแปลงค่า จากค่าหนึ่งไปยังอีกค่าหนึ่งได้
ค่าที่ใช้ในการวิจัย 1. ค่า California Bearing Ratio ---> CBR (%) • 2. ค่า Bearing Value (psi) • 3. ค่า Modulus of Subgrade Reaction ---> K (pci)
ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 1
ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 2
ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 3
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง CBR , Bearing Value , K และ R
K ---> Bearing Value 50 y = 35.104Ln(x) - 166.63 40 Bearing Value 30 y = 25.299Ln(x) - 109.1 20 10 0 0 100 200 300 400 500 Bearing experiment (psi) K Bearing reference (psi)
สรุปผลการวิจัย 1. สามารถนำค่า Parameter ทั้ง 3 ค่าคือ CBR, Bearing Value และ K ไปออกแบบพื้นทางถนนลาดยางได้ 2.จากผลการทดลองจะเห็นว่าค่า Parameter ทั้ง 3 ค่า มีความเกี่ยวข้องกันจริงและสามารถแปลงจากค่าหนึ่งไปเป็นอีกค่าหนึ่ง ได้ใกล้เคียงกับกราฟความสัมพันธ์ของค่า Parameter 3. สมการความสัมพันธ์ที่หาได้สามารถนำไปทดสอบค่าคงตัวของดิน ที่มีค่า CBR อยู่ในช่วง 25-45%
ข้อจำกัดและปัญหาในการวิจัยข้อจำกัดและปัญหาในการวิจัย 1. เครื่องมือทดสอบค่า R Value ของภาควิชาวิศวกรรมโยธา โรงเรียนนายเรืออากาศ เสื่อมคุณภาพใช้งานไม่ได้ จึงไม่สามารถหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับค่า R Value ได้ 2. ในการทำการทดลอง Plate Bearing และ Field CBR จะต้องขอรับการสนับสนุน จากแผนกตรวจทดลองกรมช่างโยธาทหารอากาศ และกองสนามบิน ซึ่งการติดต่อเป็นไปได้ด้วย ความยากลำบากจึงทำให้ทดลองไม่ได้เต็มที่ 3. การทดลองแต่ละจุด จะต้องติดตั้งเครื่องมือใหม่ทุกครั้ง ซึ่งในการติดตั้งแต่ละครั้งใช้เวลานาน รวมถึงการทดลองแต่ละครั้งใช้เวลาค่อนข้างนานเช่นเดียวกัน 4 น้ำหนักของรถบรรทุกมีค่าน้อยเกินไปทำให้ต้องเสียเวลาในการทดสอบแต่ละจุดนานขึ้น 5 การทดลองได้ช่วงความสัมพันธ์ที่ได้ค่าความหนาแน่นของดินใกล้เคียงกัน ทำให้ความสัมพันธ์ที่ได้มีช่วงจำกัด
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1 ซ่อมแซมเครื่องมือ Stabilometer เพื่อนำมาทดลองหาค่า R 2. วางแผนติดต่อขอรับการสนับสนุนจากแผนกตรวจทดลอง กรมช่างโยธาทหารอากาศ เพื่อทำการทดลองในช่วงที่ฝนไม่ตก และทำการทดลองให้มากขึ้น • 3. เพิ่มน้ำหนักรถบรรทุกให้มีน้ำหนักอย่างต่ำ 20 ตัน • เพื่อใช้เป็นแรงกด ในการทดสอบ Plate Bearing 4. ทำการทดลองที่จุดทดลองมีความหนาแน่นของดินแตกต่างกัน