1 / 27

CHAPTER 6

CHAPTER 6. Process Selection and Facility Layout. Line Balancing is the process of assigning tasks to workstations in such a way that the workstations have approximately equal time requirements. Design Product Layouts: Line Balancing. Objective of line balancing.

myron
Download Presentation

CHAPTER 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CHAPTER 6 Process Selection and Facility Layout

  2. Line Balancing is the process of assigning tasks to workstations in such a way that the workstations have approximately equal time requirements. Design Product Layouts: Line Balancing

  3. Objective of line balancing

  4. Parameters in line balancing • Operating time, OT คือ เวลาทำงาน • Desired output, D คือ จำนวนผลผลิตที่ต้องการ • Cycle time, CT คือ เวลาทำงานต่อผลผลิต 1 ชิ้น • Workstation process time, Tiคือ เวลาที่ใช้ในการทำงานแต่ละขั้นตอน • Total process time, Tpคือ เวลารวมจากการทำงานทั้งกระบวนการ • Minimum number of workstation, nคือ จำนวนสถานีงานที่น้อยที่สุดที่ต้องจัดสำหรับกระบวนการ

  5. Parameters in line balancing • Idle time, d คือ เวลาที่สูญเสียไป • Efficiency, E คือ ประสิทธิภาพของระบบ ***ดังนั้นในการคำนวณประสิทธิภาพจึงคิดเปรียบเทียบจากเวลารวมของสถานีที่ใช้เวลาการทำงานสูงสุด

  6. Steps of line balancing Identify the work (job/task). Break down the work into elemental tasks or steps. List the various elements along with their precedence relationship or logical relationships and the time required. Sketch the precedence diagram. Determine thecycle time. Divide the total time by cycle time to get the number of work stations required. Assign task to stations or group the elements. Total time of all the elements in a group does not exceed cycle time.

  7. Methods of line balancing for assembly line วิธีกฎเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งสูงสุด (Largest candidate rule) วิธีของกิลบริดจ์และเวสเตอร์ (Kilbridge and Wester method) วิธีการใช้น้ำหนักเป็นตัวกำหนดตำแหน่ง (Ranked positional weight method, RPW)

  8. Methods of line balancing for assembly line วิธีกฎเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งสูงสุด (Largest candidate rule) วิธีของกิลบริดจ์และเวสเตอร์ (Kilbridge and Wester method) วิธีการใช้น้ำหนักเป็นตัวกำหนดตำแหน่ง (Ranked positional weight method, RPW)

  9. Largest candidate rule ตัวอย่าง

  10. Largest candidate rule 1. เขียน precedence diagram

  11. Largest candidate rule 2. หาค่า CT, และ n CT = OT/D = (50)(40)(60) นาที / 120,000 ชิ้น = 1 นาที Ti = 4 นาที n= 4/1 = 4 สถานี ดังนั้นต้องแบ่งการทำงานออกเป็นอย่างต่ำ 4 สถานี

  12. Largest candidate rule 3. จัดงานลงสถานีโดยยึดหลักการเลือกงานที่ใช้เวลามากก่อน *** เวลารวมแต่ละสถานีการทำงานต้องไม่มากกว่า Cycle time (CT) (1 นาที สำหรับกรณีนี้)

  13. Largest candidate rule 4. พิจารณาเวลาที่สูญเสียไป (idle time) และประสิทธิภาพของสายงาน (efficiency, E) idle time - 0.19 0.02 0.41 0.38 Efficiency, E = 100 – 20 = 80%

  14. Methods of line balancing for assembly line วิธีกฎเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งสูงสุด (Largest candidate rule) วิธีของกิลบริดจ์และเวสเตอร์ (Kilbridge and Wester method) วิธีการใช้น้ำหนักเป็นตัวกำหนดตำแหน่ง (Ranked positional weight method, RPW)

  15. Kilbridge and Wester method ตัวอย่าง

  16. Kilbridge and Wester method จัดผังงานให้อยู่ในรูปแบบ column ตามลำดับของงาน

  17. Kilbridge and Wester method 2. จัดงานลงสถานีโดยเลือกงานที่อยู่ใน column เดียวกันมาทำก่อน *** เวลารวมแต่ละสถานีการทำงานต้องไม่มากกว่า Cycle time (CT) (1 นาที สำหรับกรณีนี้)

  18. Kilbridge and Wester method 3. พิจารณาเวลาที่สูญเสียไป (idle time) และประสิทธิภาพของสายงาน (efficiency, E) idle time - 0.19 0.08 0.35 0.38 Efficiency, E = 100 – 20 = 80%

  19. Methods of line balancing for assembly line วิธีกฎเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งสูงสุด (Largest candidate rule) วิธีของกิลบริดจ์และเวสเตอร์ (Kilbridge and Wester method) วิธีการใช้น้ำหนักเป็นตัวกำหนดตำแหน่ง (Ranked positional weight method, RPW)

  20. Ranked positional weight (RPW) method 1. กำหนดให้ค่าน้ำหนักของแต่ละงานโดยรวมเวลาของงานนั้นเข้ากับเวลาของงานที่ตามหลังทั้งหมด Example: งานที่ 1 มีงานตามหลัง คือ 34 6 7 8 9 10 11 12 ดังนั้น RWP = 3.30 งานที่ 11 มีงานตามหลัง คือ 12 ดังนั้น RWP = 0.12+0.5 = 0.62

  21. Ranked positional weight (RPW) method 2. เรียงลำดับงานตาม RWP จากมากไปหาน้อย

  22. Ranked positional weight (RPW) method 3. จัดงานลงสถานีโดยดูผลรวมของเวลาไม่ให้เกิน cycle time idle time 0.1 0.09 0.08 0.35 0.38 Efficiency, E = 100 – 13= 87% ในกรณีนี้ RPW ให้ประสิทธิภาพสูงกว่า 2 วิธีแรก

  23. Example ในสายการประกอบสินค้าชนิดหนึ่งต้องการประกอบสินค้า 40 ชิ้นต่อวัน โดยเวลาทำงานคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน จงหา Cycle time, จำนวนสถานีการประกอบอย่างต่ำที่ควรมี

  24. CT = cycle time = Production time available per day = (8)(60)= 12 min n = 66 = 5.5 or 6 stations E = (12)(6) 40 12 Example • Units required per day

  25. Example ในสายการประกอบสินค้าชนิดหนึ่งต้องการประกอบสินค้า 40 ชิ้นต่อวัน โดยเวลาทำงานคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน 2. จงจัดส่วนของงานลงสถานีโดยใช้ Largest candidate rule และคำนวณประสิทธิภาพของสายการประกอบ

  26. Example CT = 12 นาที n = 6 สถานี

  27. Example CT = 12 นาที n = 6 สถานี Efficiency, E = 100 – 8.3= 91.7%

More Related