410 likes | 665 Views
นโยบายการจัดสรรทุนของฝ่ายวิชาการ สกว. โดย ศ.ดร. วิชัย บุญแสง. รามาธิบดี 15-06-52. ฝ่ายวิชาการ สกว. ประเภทของทุน. ทุนวิจัยเชิงวิชาการ ( academic research) มีฝ่ายวิชาการ และ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) เป้าหมาย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและ การจดสิทธิบัตร.
E N D
นโยบายการจัดสรรทุนของฝ่ายวิชาการ สกว. โดย ศ.ดร. วิชัย บุญแสง รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ประเภทของทุน • ทุนวิจัยเชิงวิชาการ (academic research) • มีฝ่ายวิชาการ และ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) • เป้าหมาย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและ • การจดสิทธิบัตร 2) ทุนวิจัยและพัฒนา (R&D)มี 5 ฝ่าย เป้าหมาย : นำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ - เชิงพาณิชย์ - เชิงนโยบาย - เชิงสาธารณะ • ทุนวิจัยเพื่อท้องถิ่น (area-based research) • เป้าหมาย : เพื่อสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
บทบาทของ สกว. ในการสนับสนุนงานวิจัย • ไม่ดำเนินการวิจัยเอง • ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณที่ได้ทั้งหมด • สร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันและสร้างนักวิจัยมืออาชีพ • เพื่อให้มีผลงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ • 4) สนับสนุนการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ • 5) เผยแพร่ผลงานวิจัย รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ฝ่ายวิชาการ • สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ • สร้างทีมวิจัย • สร้างผลงานวิจัย • สร้างบันไดอาชีพแก่นักวิจัย • สร้างรายได้ • สร้างฐานวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ จดสิทธิบัตร ประโยชน์ต่อสังคม - เชิงพาณิชย์ - เชิงสาธารณะ - เชิงนโยบาย รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ฝ่ายวิชาการ • Strategic Targeted Advanced Research (STAR) • TRF-initiated • - goal - oriented • - based on national needs/agenda • - research grouping / teams / collaboration • - multidisciplinary / expertises • - workshop / networks / critcal mass • การวิจัยพื้นฐาน • (Basic Research) • investigator – initiated • - good ideas/good people • - knowledge and discoveries • - training ground for new • (young) researchers • - career path / ladder • การวิจัยประยุกต์ • (Applied/ Translational Research) • Exploitations of knowledge • - translation of existing • or new knowledge • - innovations / value chain • - new technologies • - new processes • การพัฒนา • (Development) • Utilizations • - engineering • processes • - prototypes • - scale up รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
แผนภาพแสดงการบริหารจัดการทุนวิจัยในปัจจุบันของฝ่ายวิชาการแผนภาพแสดงการบริหารจัดการทุนวิจัยในปัจจุบันของฝ่ายวิชาการ ผลงานวิจัยพื้นฐาน และการสร้างองค์ความรู้ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่นำไปต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้ การสร้างนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น • ชุดโครงการวิจัยพื้นฐาน เชิงยุทธศาสตร์ • สมุนไพร ยารักษาโรคและ • สารเสริมสุขภาพ • ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและ • เวชศาสตร์การฟื้นฟูสภาวะเสื่อม • - การพัฒนาเกษตรยั่งยืน • - นาโนศาสตร์และนาโนเทคโนโลยี • - การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจ • การผลิตสัตว์บกเศรษฐกิจ • ประเด็นเร่งด่วน / ความได้เปรียบ • ของประเทศ โครงการเชื่อมโยงงานวิจัยพื้นฐานกับการพัฒนาอุตสาหกรรม ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.) ทุนองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนา ทุนพัฒนานักวิจัย/ทุนอาจารย์รุ่นกลาง ทุนพัฒนาศักยภาพอาจารย์รุ่นใหม่/ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ คู่ขนานกัน การวิจัยพื้นฐานแบบมุ่งเป้าเพื่อนำผลงานวิจัยไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ การวิจัยพื้นฐานจากความคิดริเริ่มของนักวิจัย
ประเภทของทุนวิจัยที่ให้การสนับสนุนจนถึงปัจจุบันรวม 3,776 ทุน 1. ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ (พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน) 577 ทุน 2. ทุนอาจารย์รุ่นใหม่ สกว.-สกอ. (พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน) 1,969 ทุน 3. เมธีวิจัย สกว. (พ.ศ. 2537-ปัจจุบัน) 310 ทุน 4. ทุนอาจารย์รุ่นกลาง สกว.-สกอ. (พ.ศ. 2548-2551) 228 ทุน 5. วุฒิเมธีวิจัย สกว. (พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน) 296 ทุน 6. เมธีวิจัยอาวุโส สกว. (พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน) 181 ทุน 7. ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น สกว.-สกอ. (เริ่ม พ.ศ. 2552) 5 ทุน 8. ทุนวิจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน) 107 ทุน 9. ทุนโครงการเชื่อมโยงงานวิจัยพื้นฐานกับการพัฒนาอุตสาหกรรม 63 ทุน (พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน) 10.ทุนส่งเสริมความสามารถในการวิจัยของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยฯ 39 ทุน (พ.ศ. 2551) รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
พิธีพระราชทานโล่เกียรติยศแก่เมธีวิจัยอาวุโส สกว. รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
TRF-Strategic Targeted Advanced Research (STAR) ภายใต้ชุดโครงการวิจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Basic Research) สนับสนุนทุนวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ทีมประกอบด้วยอาจารย์/นักวิจัยไม่ต่ำกว่า 3 คน จากสถาบันเดียวกันหรือ ต่างสถาบันก็ได้ นักวิจัยแต่ละคนในทีมต้องมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกันเพื่อนำมาเสริมกันและ สามารถระบุขอบเขตงานที่รับผิดชอบของแต่ละคนได้อย่างชัดเจน นักวิจัยในทีมต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่มี impact factor ในระยะเวลา 5 ปีสุดท้ายอย่างต่อเนื่องที่ทำในประเทศไทย เป็นส่วนใหญ่และเป็นผู้วิจัยหลัก มีนักวิจัยในต่างประเทศร่วมในทีมได้ไม่เกิน 1 คนแต่งานวิจัยหลักต้องทำใน ประเทศไทย รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ตัวอย่างชุดโครงการวิจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ • สมุนไพร ยารักษาโรคและสารเสริมสุขภาพ • ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์การฟื้นฟูสภาวะเสื่อม • การพัฒนาเกษตรยั่งยืน • นาโนศาสตร์และนาโนเทคโนโลยี • การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจ • การผลิตสัตว์บกเศรษฐกิจ • พลังงานทดแทน • หัวข้ออื่นๆ ที่ผู้ขอทุนเห็นว่าเป็นเรื่องจำเป็นหรือเป็นข้อได้เปรียบของประเทศ รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
สมุนไพร ยารักษาโรคและสารเสริมสุขภาพ ผู้ประสานงาน รศ.ดร. สุภา หารหนองบัว • ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและการวิจัยยาแผนโบราณแนวใหม่ • การค้นหาตัวยาและการพัฒนาเพื่อนำไปสู่การใช้เป็นยา • (drug discovery and drug development) • สารเพื่อใช้ในการผลิตอาหารที่ปลอดภัยโดยเฉพาะสารกำจัดศัตรูพืช • และสารกระตุ้นการเจริญเติบโตและเสริมสุขภาพของพืช สัตว์ และ • มนุษย์ • วิธีการสังเคราะห์สารที่เป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและ • การแพทย์ รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ การฟื้นฟูสภาวะเสื่อม ผู้ประสานงาน ศ.นพ. สุรพล อิสรไกรศีล • การศึกษาวิธีการแยกกลุ่มและกลไกที่ควบคุมให้ adult stem cell พัฒนาไปเป็นเซลล์ของอวัยวะต่างๆ • การประยุกต์ใช้ adult stem cell therapy ซ่อมแซมการเสื่อมของ อวัยวะในโรคต่างๆ • การศึกษาชีววิทยาการพัฒนาสายพันธุ์และกลไกการควบคุม การพัฒนาของ embryonic stem cells ไปเป็นเซลล์ชนิดต่างๆ รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
หัวข้ออื่นๆ ที่ผู้ขอทุนเห็นว่าเป็นเรื่องจำเป็นหรือ เป็นข้อได้เปรียบของประเทศ โจทย์วิจัยที่เป็นปัญหาเร่งด่วนและ/หรือเป็นความได้เปรียบของประเทศ โดยต้องเป็นโครงการวิจัยที่บูรณาการความเชี่ยวชาญหลายๆ ด้านและมีผลลัพธ์และผลกระทบสูง รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
โครงการสร้างกำลังคนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมโครงการสร้างกำลังคนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ฝ่ายวิชาการ ....สร้างกำลังคนและใช้องค์ความรู้จากงานวิจัยพื้นฐานเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และ/หรือแก้ปัญหาจากอุตสาหกรรม/ชุมชน..... จุดมุ่งหมาย ระดับและจำนวนทุน ระดับที่ 1 จำนวน 10 ทุน(งบ 1,000,000 บาท/2 ปี) ระดับที่ 2 จำนวน 10 ทุน(งบ 1,500,000 บาท/2 ปี) ระดับที่ 3 จำนวน 10 ทุน(งบ 3,000,000 บาท/2 ปี) รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่นทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น งบประมาณทุนละ 9,000,000 บาท ในระยะเวลา 3 ปี โดยแบ่งจ่ายเป็นรายปีๆ ละ 3,000,000 บาท จำแนก เป็นค่าตอบแทนหัวหน้าโครงการไม่เกิน 50,000 บาทต่อเดือน (ไม่เกิน 600,000 บาทต่อปี) และงบประมาณส่วนที่เหลือเป็นค่าใช้จ่ายในการทำวิจัยไม่ต่ำกว่า 2,400,000 บาทต่อปี งบประมาณโครงการเป็นการร่วมทุนกันในลักษณะไตรภาคี คือ สกอ. และ สกว. จะจัดสรรทุนให้หน่วยงานละ 3,000,000 บาท รวมเป็น 6,000,000 บาท โดยที่สถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัดจะสมทบให้อีก 3,000,000 บาท รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
จำนวนผู้ได้ทุนสังกัดคณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี จากฝ่ายวิชาการ ตั้งแต่ปี 2537 - 2552 รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
จำนวนผู้ได้ทุนสังกัด ม.มหิดล แยกตามคณะ (พ.ศ. 2537 – 2552) รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
จำนวนผู้รับทุนสังกัดคณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี แยกตามปี (พ.ศ. 2537 – 2552) รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
จำนวนผู้ได้ทุนจากคณะแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ (พ.ศ. 2537 – 2552) รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
Barack Obama Presidential Announcement Speech • Invest in the Sciences : Double federal funding for basic research over ten years, changing the posture of our federal government to one that embraces science and technology. • Invest in University-Based Research: Expand research initiatives at American colleges and universities. Provide new research grants to the most outstanding early- career researchers in the country. http://change.gov/agenda/technology_agenda/ รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
Advance the Biomedical Research Field: Support investments in biomedical research, as well as medical education and training in health-related fields. Fund biomedical research, and make it more efficient by improving coordination both within government and across government/private/non-profit partnerships. • Advance Stem Cell Research: Support increased stem cell research. Allow greater federal government funding on a wider array of stem cell lines. รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
“Since research is so expensive, can a developing country like Thailand afford to do basic research? Thailand cannot afford NOT to do basic research, otherwise it will never be able to compete.” Prof. William N. Lipscomb, Nobel Laureate in Chemistry, 1976, and Stang Mongkolsuk Distinguished Professor,Faculty of Science, Mahidol University รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
“There is no such thing as basic and applied sciences, only good science and bad science.” Prof.Aaron Ciechanover,Nobel Laureate in Chemistry, 2004 รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
Prof. Sippanondha Ketudat & Prof. Sheldon L. Glashow, Nobel Laureate in Physics, 1979
Horvitz urges support for basic science Horvitz is concerned that because of declining government support, today's young researchers will not have the same freedom he did to pursue basic research. MIT Professor and 2002 Nobel Prize winner H. Robert Horvitz gave the Killian Award Lecture April 24,2007 http://web.mit.edu/newsoffice/2007/talk-killian-horvitz.html รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
"Basic research may lead not only to intellectually stimulating findings, but also to major insights of a practical nature," he said. "Basic research must be supported outside the private sector by governments and foundations because only such organizations can act on a basis that will benefit humanity but cannot possibly constitute a business plan." รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
QS.com Asian Universities Ranking 2009 Rank of Thai Universities among 400+ Asian Universities Surveyed รามาธิบดี 15-06-52 ฝ่ายวิชาการ สกว.
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION BASIC vs APPLIED SCIENCE BAD SCIENCE vs GOOD SCIENCE ? Applied Research: Fruits = value-added Basic Research: Roots = support and nourishment