1 / 17

การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน

การประชุมเวทีข้าวไทยปี 2555 ครั้งที่ 10 วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ณ อาคาร 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน. 1. สถาบันคลังสมองของชาติ. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน ( ต่อ ).  ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. 2510. 2540. 2527.

nadda
Download Presentation

การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเวทีข้าวไทยปี 2555 ครั้งที่ 10 วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ณ อาคาร 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน 1 สถาบันคลังสมองของชาติ

  2. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2510 2540 2527 2535 2538 2539 กำหนดวิสัยทัศน์ให้เป็นกลุ่มที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ลาวและพม๋าเข้าเป็นสมาชิก ก่อตั้งสมาคม ASEAN มีสมาชิก 5 ประเทศ บรูไนเข้าร่วมเป็นสมาชิก บรรลุข้อตกลงการเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน(AFTA) เกิดกรอบตกลงการค้าและบริการ(AFAS) เกิดเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) เวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิก เกิดความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน(AICO) 18ปี 2545 2546 2542 2541 2550 2553 2558 เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประเทศอาเซียนเดิมลดภาษีเป็น 0% ไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) เกิดปฏิญญาบาหลีเพื่อไปสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เริ่มใช้เขตลงทุนอาเซียน(AIA) จัดทำแผนปฏิบัติการฮานอยเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน เกิดปฎิญญา Cebuเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)และเร่งการเป็นประชาคมอาเซียนจากปี 2563 มาเป็น 2558 กัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิก อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ เกิดแนวคิดการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ณ กัมพูชา 2 ที่มา :ปรับปรุงจากข้อมูลที่ปรากฎใน www.dtn.moc.go.th (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ) และ www.asean.org ,

  3. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ประชาคมอาเซียน 2015 (2558) (ASEAN Community) กฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter ประชาคมความมั่นคงอาเซียน(ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน(ASCC) เป้าหมายของการรวมกลุ่ม โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน(Single Market and Production Base) และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ที่มา:ASEAN Economic Community FactBook

  4. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN(พาณิชย์-electronic ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายภาษี ลงทุนได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน AEC 2515 แรงงานฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำข้อตกลง FTAs กับประเทศนอกอาเซียน เช่น ASEAN+3 ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ กับประชาคมเศรษฐกิจต่างๆ สนับสนุนการพัฒนา SMEs ที่มา:ASEAN Economic Community FactBook

  5. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียนการก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน การเปิดตลาดเสรีอาเซียนรวมทั้งสินค้าข้าว เริ่มมาตั้งแต่ 1 มกราคม 2553 เป็นการปูทางไปสู่ AEC ในปี 2558 การเปิดเสรีในการค้าจะทำให้ตลาดการค้าข้าวอาเซียนรวมกันเป็นตลาดเดียว มีประชากร 595 ล้านคนและ มีขนาดของ GDP 1.5 ล้านล้าน US$ 5

  6. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ความตกลงในการเปิดตลาดข้าวของแต่ละประเทศในอาเซียน ● กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมที่พร้อมลดภาษีสินค้าข้าวเป็น 0% ในวันที่ 1 ม.ค. 2553 ได้แก่ ไทย สิงคโปร์ บรูไน ● กลุ่มประเทศสมาชิกเดิมที่ได้ทยอยลดภาษีข้าวลงแต่ยังไม่เป็นศูนย์ ได้แก่ มาเลเซียลดจาก 40% มาเป็น 20% ในปี 2553 อินโดนีเซียลดจาก 30% มาเป็น 25% ในปี 2558 ฟิลิปปินส์จะลดจาก 40% เป็น 35% ในปี 2558? ●กลุ่มสมาชิกใหม่(CLMV) ในปี 2558 เวียดนามจะลดจาก 20% เป็น 0% ลาว เขมร พม่า จะลดจาก 5% เป็น 0% แต่สินค้าข้าวจะไม่อยู่ในสินค้าที่นำมาเจรจา ภายใต้ทวิภาคีอาเซียน+ 3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) 6

  7. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) จำนวนประชากร การผลิต และการบริโภคข้าวของอาเซียนและของโลก ปี 2554 ที่มา : 1/ World Food Statistic and Kyushu University, Faculty of Agriculture 2/ Grain: World Markets and Trade , Mach 2012 USDA

  8. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ประเทศผู้ส่งออกข้าวสำคัญของอาเซียนและของโลก 2554  ประเทศผู้ผลิตข้าวสำคัญของโลก ที่มา: Grain: World Market and Trade, USDA, March 2012

  9. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ข้าวส่วนเกินในอาเซียนและ ผู้ส่งออกข้าวที่สำคัญในปี 2554 การส่งออกจากกลุ่มประเทศอาเซียน  ผู้ส่งออกของอาเซียนที่สำคัญ ไทย 10.5 ล้านตัน  เวียดนาม 7.0 ล้านตัน  พม่า+เขมร 1.8 ล้านตัน  รวมการส่งออกข้าว 19.3 ล้านตัน • ●ผู้นำเข้าของอาเซียนที่สำคัญ: • ฟิลิปปินส์ 1.2 ล้านตัน • อินโดนีเซีย 2.8 ล้านตัน • มาเลเชีย และสิงคโปร์ 1.5 ล้านตัน • จำนวนรวม 5.5 ล้านตัน 9 ที่มา : Grain : World Market and Trade, USDA ; May 2011

  10. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ประเทศในกลุ่มอาเซียนและสินค้าข้าว การผลิต การบริโภคและการค้าอาเซียนและอาเซียน + 3 ที่มา : ข้อมูลจำนวนประชากร จาก World Food Statistic and Graphic,Kyushu University, Faculty of Agriculture , ข้อมูลข้าว จาก Grain : World Market and Trade, USDA ; March 2012

  11. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) สัดส่วนการผลิต การบริโภคข้าวอาเซียนเทียบกับของโลก สัดส่วนของอาเซียน สต็อกข้าวของประเทศที่สำคัญ การบริโภคของ ASEAN คิดเป็น ร้อยละ 22 ของการบริโภคข้าวโลก จีน 43.6 ล้านตัน อินเดีย 21.6 ล้านตันอินโดนีเซีย 6.4 ล้านตัน ไทย 6.1 ล้านตัน เวียดนาม 1.8 ล้านตัน การผลิตข้าวของ ASEAN คิดเป็นร้อยละ 24% ของการผลิตข้าวโลก ปริมาณการนำเข้าของตลาดอาเซียนประมาณร้อยละ 15 ของปริมาณการค้าข้าวโลก 11 ที่มา: Grain: World Market and Trade, USDA, May 2011

  12. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ข้าวประเภทไหนที่ไทยส่งออกมาก? ประเภทของข้าวที่ไทยส่งออกไปในเอเชีย ประเภทของข้าวที่ไทยส่งออกไปนอกเอเชีย 12 ที่มา : ข้อมูลการส่งออกข้าวของไทยจาก สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

  13. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) คู่แข่งของไทย (เวียดนาม) มีลักษณะการถือครองตลาดอย่างไร? การส่งออกของไทยปี 2554 การส่งออกของเวียดนามปี 2554 7 ล้านตัน 10.66 ล้านตัน ทีมา : คำนวณจากฐานข้อมูลปริมาณการส่งออกข้าวไทยของสถาหอการค้าแห่งประเทศไทย ที่มา : Vietnam Grain and Feed Annual 2012, USDA and and Vietnam’s Rice Industry in 2011, Agroinfo, Vietnam ที่มา : คำนวณจากฐานข้อมูลปริมาณการส่งออกของสภาหอการค้าไทย ที่มา : Vietnam Grain and Feed Annual 2012, USDA and and Vietnam’s Rice Industry in 2011, Agroinfo, Vietnam, 2012

  14. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ข้าวประเภทไหนที่คู่แข่งของไทย(เวียดนาม) ถือครองตลาด? ปริมาณการส่งออกข้าวแต่ละประเภทไปในตลาด Asia ปี 2554 ปริมาณการส่งออกข้าวแต่ละประเภทไปในตลาดนอก Asia ปี 2554 ที่มา : ฐานข้อมูลสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ Vietnam Grain and Feed Annual 2012 ที่มา : ฐานข้อมูลสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ Vietnam Grain and Feed Annual 2012

  15. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ราคาข้าวส่งออกของไทยเทียบกับประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญๆ ที่มา: http://oryza.com/Rice-News/14687.html

  16. การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ)การก้าวไปสู่ตลาดการค้าข้าวเสรีของอาเซียน(ต่อ) ความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตข้าวไทยกำลังถดถอยลง ต้นทุนการผลิตข้าวของไทยปรับตัวสูงขึ้นตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ต้นทุนการผลิตข้าวของไทยสูงกว่าเวียดนามเกือบหนึ่งเท่าตัวในปี 2551 ต้นทุนการผลิต 2538 3.86 บาทต่อ ก.ก. 2551 7.14 บาทต่อ ก.ก. เกษตรกรไทยเข้าสู่ภาวะสูงวัย และ มึบุตรหลานจำนวนน้อยมากที่สืบต่ออาชีพการทำนา เกษตรกรรายเล็กๆจะหายไปจากอาชีพทำนาและจะเกิดเป็นธุรกิจฟาร์มขนาดใหญ่ขึ้นทดแทน 16 ที่มา: 1/ สมพร อิศวิลานนท์(2552) 2/ Nguyen Tri Khiem (2010)

  17. ขอบคุณ

More Related