360 likes | 530 Views
การจัดทำผลงานวิชาการ. ไพโรจน์ พอใจ. เราจะเริ่มสร้างผลงานทางวิชาการได้อย่างไร ?. 1. วางแผนก่อน/วางแผนอย่างไร? 2. ประเมิน/มีข้อมูลในการจุดประกายที่จะทำ? ปัญหาอะไร/ทำไม? 3. หาตัวช่วย/ผู้ช่วยในรูปคณะทำงาน (ในโรงเรียน)
E N D
การจัดทำผลงานวิชาการ ไพโรจน์ พอใจ
เราจะเริ่มสร้างผลงานทางวิชาการได้อย่างไร ? 1. วางแผนก่อน/วางแผนอย่างไร? 2. ประเมิน/มีข้อมูลในการจุดประกายที่จะทำ? ปัญหาอะไร/ทำไม? 3. หาตัวช่วย/ผู้ช่วยในรูปคณะทำงาน (ในโรงเรียน) 4. หาตัวช่วยภายนอกโรงเรียน (ผู้รู้เชิงวิชาการและเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ) 5. คิดกระบวนการทำงานแล้วใส่เป็นปฏิทินการปฏิบัติงานไว้ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 1
6. ดำเนินงานตามปฏิทินที่กำหนดไว้แล้ว และให้ทำอย่างต่อเนื่อง 7. คณะทำงานเริ่มเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในกระบวนการวิจัย/ประเมินโครงการ โดยผู้ช่วยภายนอก (ระดับมหาวิทยาลัย) 8. ใช้ระบบ PDCA ดำเนินงาน 9. เริ่มได้ผลงานที่เป็นระบบ มีคุณภาพ และเกิดจากการปฏิบัติจริง เป็นที่ยอมรับ คณะทำงานนำมาจัดทำผลงานทางวิชาการ 10. ผู้ช่วยภายนอก ช่วยเหลือ เสริม เติมเต็ม ให้ได้ผลงานทางวิชาการที่ถูกต้องมีคุณภาพยิ่งขึ้น (ในลักษณะกลั่นกรอง) 11. เสนอเพื่อรับการประเมินต่อไป PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 2
การเริ่มต้นวันนี้อย่างไรการเริ่มต้นวันนี้อย่างไร 1. การทำงานแบบครบวงจร/แบบเป็นระบบ ? 2. ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) คืออะไร? เกี่ยวกับแบบประเมินอย่างไร 3. เราจะทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศได้อย่างไร 4. ชี้แจงแบบประเมินคร่าวๆ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 3
การเริ่มต้นวันนี้อย่างไรการเริ่มต้นวันนี้อย่างไร 5. แนวทางการพัฒนางาน/การเก็บหลักฐานประกอบการรับการประเมิน 5.1 ไม่ได้วางแผนไว้ เราจะทำอย่างไร? 5.2 วางแผนไว้เป็นระบบ เราจะทำอย่างไร ? PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 4
ผลงานวิชาการ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 5
งานวิชาการ • งานวิจัย • งานวิชาการอื่นๆ • สื่อการเรียนรู้ • รายงานผล • รายงานการประเมิน • บทความ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 6
ข้อสังเกตของงานวิชาการอื่นข้อสังเกตของงานวิชาการอื่น รูปแบบของสื่อ นวัตกรรม ประโยชน์ คุณภาพ ประสิทธิภาพ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 7
ชนิดของสื่อการเรียนรู้ชนิดของสื่อการเรียนรู้ หนังสือ แบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คู่มือ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 8
โครงสร้างของคู่มือเรียนโครงสร้างของคู่มือเรียน ส่วนนำ ส่วนเนื้อ ส่วนเสริม PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 10
ส่วนเนื้อของคู่มือ สาระสำคัญ วัตถุประสงค์ วัดผลการเรียน เนื้อหา กิจกรรม วัดผลหลังเรียน PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 11
การพัฒนาสื่อ การทดลองใช้ การปรับปรุง การใช้จริง - เผยแพร่ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 12
การทดลองใช้ • ผู้เชี่ยวชาญ • การทดลองใช้กับผู้เรียน • 1 : 1 • 1 : 5 • 1 : 30 PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 13
ผู้เชี่ยวชาญ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ความเชี่ยวชาญ ประเด็น - เครื่องมือ สถิติ - ข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 14
การทดลองใช้ • คุณภาพ • ด้านกายภาพ • ด้านเนื้อหา • ด้านกิจกรรม • ประสิทธิภาพ • ผลสัมฤทธิ์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 15
รายงานการทดลองใช้ บทที่ 1 ความเป็นมา วัตถุประสงค์ นิยามศัพท์เฉพาะ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 16
รายงานการทดลองใช้ บทที่ 2 ขอบข่ายการเขียน การสรุป เชื่อมโยง ข้อค้นพบ ข้อคิด การใช้ประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 17
รายงานการทดลองใช้ บทที่ 3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คุณภาพเครื่องมือ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 18
รายงานการทดลองใช้ บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความ การนำเสนอด้วยตาราง ข้อมูลเชิงคุณภาพ ความครบถ้วนของข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 19
รายงานการทดลองใช้ บทที่ 5 การเขียนบทที่ 4 กับบทที่ 5 การสรุปตามวัตถุประสงค์ การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 20
ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ ปกหน้า ปกหลัง การพิมพ์คำถูกผิด การจัดรูปเล่ม การพิมพ์กั้นหน้ากั้นหลัง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 21
ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ การเขียนบรรณานุกรม การเขียนเชิงอรรถ ประวัติผู้เขียน รายละเอียดการพิมพ์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 22
ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ • รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ • การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ • คุณภาพเครื่องมือ • ค่า IOC SPSS • ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์จริง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 23
รายงานการประเมินผล • รูปแบบการประเมิน • ยึดวัตถุประสงค์ • ไม่ยึดวัตถุประสงค์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 24
รายงานการประเมินผล • กรอบการประเมิน • วัตถุประสงค์ • ประเด็นการประเมิน • เกณฑ์การประเมิน • เครื่องมือ – การวิเคราะห์ข้อมูล • แหล่งข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 25
รายงานการประเมินผล • เกณฑ์การประเมิน • พัฒนาขึ้นใหม่ • ใช้ของคนอื่น PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 26
รายงานการประเมินผล • สรุปผลการประเมิน • เปรียบเทียบข้อมูลกับเกณฑ์ • ตัดสินผลการเปรียบเทียบ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 27
ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน การเขียนวัตถุประสงค์การประเมิน การเขียนขอบเขตการประเมิน ข้อมูลในบทที่ 2 การรายงานโครงการที่ประเมิน PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 28
ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน เกณฑ์การประเมิน เครื่องมือการประเมิน การอภิปรายตาราง การเขียนบทที่ 4 กับบทที่ 5 PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 29
ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน ผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลในภาคผนวก ประวัติผู้ประเมิน ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 30
รายงานการวิจัย บทที่ 1 การระบุความเป็นมา ปัญหา วัตถุประสงค์กับความเป็นมา ปัญหา ขอบเขตการวิจัยกับตัวแปรวัตถุประสงค์ ประโยชน์กับปัญหา วัตถุประสงค์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 31
รายงานการวิจัย บทที่ 2 ความครบถ้วนในองค์ประกอบ การสรุป นำไปใช้ในการทำวิจัย ปริมาณ สาระ การอ้างอิง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 32
รายงานการวิจัย บทที่ 3 ความครบถ้วนของหัวข้อ การสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล วิธีการนำเสนอ สถิติ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 33
รายงานการวิจัย บทที่ 4 ตารางวิเคราะห์กับเครื่องมือ การอธิบายตาราง การใช้สถิติ การเปรียบเทียบกับการทดสอบทางสถิติ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 34
รายงานการวิจัย บทที่ 5 การสรุปผลกับวัตถุประสงค์ ความสัมพันธ์ของการสรุป การอภิปราย และข้อเสนอแนะ การอภิปรายผลกับบทที่ 2 ข้อเสนอแนะกับผลการวิจัย PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 35
ข้อสังเกตอื่นๆ ของการวิจัย การเขียนเชิงอรรถ บรรณานุกรม ข้อมูลในภาคผนวก การจัดรูปเล่มให้ประทับใจ การใช้เอกสารอ้างอิง - ใหม่ - มาก ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 36