990 likes | 1.3k Views
วันที่ 13 มกราคม 2555 ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT. วิสัยทัศน์.
E N D
วันที่ 13 มกราคม 2555 ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT
วิสัยทัศน์ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นสถาบันทางวิชาการ และวิชาชีพ และเป็นแหล่งอ้างอิงระดับชาติและ นานาชาติที่เชี่ยวชาญด้านการทดสอบ และการประเมินผลทางการศึกษา เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับและ ทุกประเภทการศึกษาสู่ระดับสากล
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ.(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) 1. จัดทำระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตาม มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน ด้านการอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา) • ประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติและ • ให้ความร่วมมือ สนับสนุน การทดสอบ ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ • สถานศึกษา 3. บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ การสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้ในการเทียบระดับและการเทียบโอนผล การเรียนที่มาจาก การศึกษาในระบบเดียวกันหรือ การศึกษาต่างระบบ samphan@niets.or.th
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) 5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการ ผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ศึกษาวิจัยและเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและ ประเมินผลการศึกษา samphan@niets.or.th
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) • เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษา ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ • พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา samphan@niets.or.th
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติของ สทศ. samphan@niets.or.th
ระบบการผลิตและพัฒนาข้อสอบระบบการผลิตและพัฒนาข้อสอบ samphan@niets.or.th
แนวปฏิบัติในการสอบ Admissions
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา
GPAX หมายถึง เกรดเฉลี่ยจากผลการเรียนตลอดหกเทอม (ม.4 ถึงม.6) ของนักเรียนทางโรงเรียนจะจัดส่ง GPAX ของนักเรียนทุกคนไปยัง สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นักเรียนจึงควรตรวจสอบค่า GPAX ของตนเองและถ้ามีข้อผิดพลาดจะได้ขอให้ทางโรงเรียนแก้ไข ก่อนที่จะมีการจัดส่ง
การสอบ O-NET Ordinary National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554
O-NET ปีการศึกษา 2554 • วัดตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ที่เป็นจุดเน้นของ สพฐ. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา และจุดเน้นของ สพฐ. (สพฐ.จัดทำและส่งให้ สทศ.เมื่อเดือนมีนาคม 2554) • จัดทำผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) ที่ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (ผู้แทนจาก สพฐ. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ) มีส่วนร่วมพิจารณา
O-NET ปีการศึกษา 2554 ให้ครูที่สังกัด สพฐ. (สพฐ. ส่งรายชื่อครูที่มีคุณสมบัติตามที่ สทศ. กำหนด เสนอให้สทศ. พิจารณา) มีส่วนร่วมในการออกข้อสอบ พัฒนามาตรฐานของการทดสอบ (Standards of Testing) ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น จัดทำคลังข้อสอบ (Item Bank) จัดตั้ง Examination Board
การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 รายวิชาที่สอบ และวัน เวลา สอบ ข้สอบทุกช่วงชั้น มีจำนวน 10 ฉบับ ( 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้)
จำนวนข้อสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
ผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
ตารางสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
รูปแบบ และตัวอย่างข้อสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 1. ข้อสอบแบบปรนัย แบบเลือกตอบ โดยเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คำตอบ ( 5 ตัวเลือก) 2. ข้อสอบปรนัยแบบเติมคำตอบหรืออื่นๆ (ไม่เกินร้อยละ 20 ของคะแนนเต็ม)
1. แบบปรนัย 1.1 เลือกตอบ4 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (4ตัวเลือก 1คำตอบ) 1.1) แบบ 4 ตัวเลือก
1. แบบปรนัย 1.1 เลือกตอบ4 ตัวเลือก เลือก 2 คำตอบที่ถูกที่สุด (4ตัวเลือก 2 คำตอบ) ใ
1. แบบปรนัย 1.3 เลือกตอบ5 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (5ตัวเลือก 1 คำตอบ)
1. แบบปรนัย 1.4 เลือกตอบ5 ตัวเลือก เลือก 2 คำตอบที่ถูกที่สุด (5ตัวเลือก 2 คำตอบ)
2. แบบปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ
2. แบบปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ (ต่อ)
3. แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน
4. แบบระบายคำตอบที่เป็นค่า/ ตัวเลข
ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 1. ระเบียบการเข้าห้องสอบ 1) ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 2) ไม่มีบัตรแสดงตนไม่มีสิทธิ์สอบ 3) ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 4) ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น 5)ห้ามนำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ 6) ให้นั่งสอบจนหมดเวลา 7) อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดาที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)
ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 2.อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำข้อสอบ 1. ปากกา ใช้สำหรับกรอกรายละเอียดต่าง ๆ บนหัวกระดาษคำตอบ 2. ดินสอดำ 2B ใช้สำหรับระบายรหัสวิชา เลขที่นั่งสอบ และคำตอบที่ต้องการเลือก 3. ยางลบ 4. กบเหลาดินสอ 3.หลักฐานที่ใช้ในการเข้าห้องสอบ บัตรประจำตัวนักเรียนที่มีรูปบัตรประชาชน หรือ หลักฐานอย่างอื่นที่สามารถใช้แสดงตัวตนของนักเรียน
ตัวอย่างผลการสอบ O-NET รายบุคคล (ระดับนักเรียน)
การสอบ GAT / PAT GAT / PAT คืออะไร GAT หรือ General Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทั่วไป PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เพื่ออะไร สทศ. จัดสอบ GAT/PAT เพื่อให้ผู้เข้าสอบสามารถนำผลการสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1) ระบบรับกลาง หรือ Admissions กลาง 2) ระบบรับตรง (ขึ้นอยู่กับประกาศของแต่ละคณะและมหาวิทยาลัย)
การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เมื่อไร สทศ.จัดสอบ GAT/PAT ปีละ2 ครั้ง ในเดือนมีนาคม และตุลาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถติดตามกำหนดการและรายละเอียดได้ทาง website ของสทศ. (www.niets.or.th) นักเรียนไม่จำเป็นต้องสมัครทุกวิชา ทุกครั้ง นักเรียนควรเลือกเฉพาะวิชาที่ต้องใช้ในการยื่นสมัคร Admissions กลาง หรือรับตรง และเลือกสมัครสอบในช่วงที่พร้อม
GAT: General Aptitude Test สอบ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ แก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง ส่วนที่ 2 คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (การพูด, คำศัพท์, โครงสร้างการเขียน และการอ่าน) คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง
PAT: Professional and Academic Aptitude Test สอบวิชาละ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน มี 7 ประเภท PAT 1 คือ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 คือ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3 คือ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4 คือ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5 คือ ความถนัดทางวิชาชีพครู PAT 6 คือ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7 คือ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.5 ภาษาบาลี PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6 ภาษาอาหรับ
รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554
รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554