1.23k likes | 1.47k Views
การพัฒนาคุณภาพเครือข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์ PCA. 30 พ.ค. 2556. เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ.
E N D
การพัฒนาคุณภาพเครือข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์ PCA 30 พ.ค. 2556
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ กระตุ้นหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้ปฏิบัติในหน่วยบริการปฐมภูมิ(รพ.สต.) ผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ(สสอ.) ระดับเครือข่าย (CUP) (รพ.ช, รพ.ศ) และ ชุมชน พัฒนาให้ตอบสนองความต้องการ ความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน ประชาชนมีสุขภาพดี และชุมชนพึ่งตนเองได้
แนวคิดการพัฒนา บทบาทของระบบบริการปฐมภูมิ บริการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู เสริมการพึ่งตนเองอย่างสมดุล ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นการร่วมสร้างเสริม “สุขภาพดี” คุณลักษณะคุณภาพของบริการปฐมภูมิ เข้าถึงง่าย ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง ตอบสนองปัญหาสุขภาพพื้นที่ ผสมผสานกับชุมชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปรับวิธีทำงานตามหลักการให้เหมาะสมกับบุคคล และบริบทแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพ แนวคิด CQI เน้นวิธีคิด และการเรียนรู้ปรับตัวอย่างเป็นระบบ เน้นประเมินเพื่อพัฒนา มากกว่าการรับรอง
มาตรฐานระบบคุณภาพปฐมภูมิมาตรฐานระบบคุณภาพปฐมภูมิ มาตรฐานInput:ผ่านเกณฑ์มาตรฐานขึ้นทะเบียน/On top นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาทางการบริหาร สนับสนุน มาตรฐานงานและระบบงาน ProcessในระดับCUP PCU มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน HCA ,มาตรฐานการพยาบาลชุมชน มาตรฐานสุขศึกษา, มาตรฐานงาน IC, มาตรฐานระบบยาและเวชภัณฑ์ มาตรฐานระบบประกันคุณภาพ และคุณภาพทั้งองค์กร(PCA) • ระบบทบทวน ตรวจสอบคุณภาพอย่างประจำ ในระดับงานย่อย, องค์กร • ความเชื่อมโยงการจัดการ ระบบ กับบริบท และมาตรฐาน • มีผลลัพธ์ที่สอดคล้อง
กรอบคุณภาพปฐมภูมิ พัฒนาในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) มุ่งเน้นเชื่อมโยงระบบ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ การบริหารจัดการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน เกิดการจัดการเป็นระบบทั่วทั้งองค์กร
มุ่งสู่การปรับปรุง พัฒนา เรียนรู้ และปรับตัวอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง หลักการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ ประเมินเพื่อพัฒนา มากกว่าการรับรอง ใช้มาตรฐานและการประเมินตนเองเป็นเครื่องมือ
PCA: Primary Care Award
PCA: Development PCA มาตรฐานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ HA PMQA HCA TQM
PCA เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพงานประจำ ช่วยแก้ปัญหางานที่มีอุปสรรคให้มีคุณภาพมากขึ้น ไม่ใช่ของใหม่ เป้าหมายของ PCA ไม่ต้องการเพียงว่าองค์กรนั้นผ่านเกณฑ์คุณภาพหรือไม่ แต่ต้องการให้องค์กรนั้นรู้ประเด็นในการพัฒนาเพื่อนำไปสู่บริการที่มีคุณภาพ ตอบความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้CUPและPCUรู้จักตนเองเพื่อนำไปสู่การพัฒนา
ทำไมจึงต้องนำ PCA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของบริการสุขภาพ เพราะเชื่อว่า ระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ดีจะนำไปสู่บริการสุขภาพที่มีคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ
ความแตกต่างของมาตรฐาน PCA กับ HCA มาตรฐานของ กระบวนการและงานย่อยด้าน ต่างๆ เช่น มาตรฐานการพยาบาลชุมชน มาตรฐานด้านสุขศึกษา มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ HCA มาตรฐานของระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ทั้งระบบ ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะมาตรฐานของหน่วยบริการ ปฐมภูมิแต่ละหน่วย PCA
PCA PCA เป็นการประยุกต์จาก TQM เป็นคุณภาพของระบบ ขององค์กรทั้งองค์กร มิใช่เฉพาะงานใดงานหนึ่ง เพิ่มเนื้อหาด้านระบบบริหารจัดการทั้ง CUP และ PCU รวมทั้งองค์ประกอบที่จะทำให้งานสำเร็จ ได้แก่ การนำ การพัฒนาบุคลากร ระบบข้อมูล การรู้ปัญหา การมีทิศทาง และแผนการทำงาน เน้นความเชื่อมโยง ความสอดคล้องขององค์ประกอบต่างๆ
กระบวนการ เริ่มจากตรวจสอบตนเองอย่างรอบด้าน และนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขที่บูรณาการเข้ากับแผนการทำงานขององค์กร การประเมินเป็นขั้น หรือ ระยะการพัฒนา แสดงให้เห็นจุดแข็ง จุดอ่อนในแต่ละองค์ประกอบ และการบูรณาการ เน้นให้เกิดการสะท้อน เพื่อให้คนในองค์กรนำไปพิจารณาทบทวนปรับปรุงให้มีการพัฒนาที่ดี บุคคลภายนอก ไม่ได้เป็นผู้บอกว่าองค์กรนั้นทำถูกหรือผิด มีคุณภาพหรือไม่มีคุณภาพ แต่จะเข้าไปสะท้อนมุมมองที่กว้างขึ้น และช่วยเรื่องแก่นคิด หลักการทำงาน ดูความสอดคล้อง เชื่อมโยง ของกระบวนการพัฒนากับสถานการณ์
หลักคิด : 11 Core Values PCA / PMQA 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 2 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 6 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง ความคล่องตัว 10 3 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ 14
แก่นของการทำงานปฐมภูมิแก่นของการทำงานปฐมภูมิ 1.การนำหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิอย่างมีวิสัยทัศน์ 2.ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม 3.มุมมองเชิงระบบ 4.การมุ่งเน้นอนาคต 5.การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง 6.การทำงานเป็นทีม 7.การมีความคล่องตัว 8.การยึด “ผลสัมฤทธิ์”และ”การสร้างคุณค่า” เป็นเป้าหมายการทำงาน 9.การบริหารจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม 10.การเรียนรู้ของหน่วยบริการปฐมภูมิ เครือข่าย และทีมสุขภาพ 11.การบริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลและข้อเท็จจริง
กลุ่มหลักคิด (11 Core value) 9 3 การบริหารจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม 7 มุมมองเชิงระบบ การมีความคล่องตัว 1 8 4 5 การเรียนรู้ของหน่วยบริการ ปฐมภูมิ การยึด “ผลสัมฤทธิ์”และ”การสร้างคุณค่า” เป็นเป้าหมายการทำงาน การนำหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิอย่างมีวิสัยทัศน์ การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง การมุ่งเน้นอนาคต 10 2 11 6 ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม การบริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลและข้อเท็จจริง การทำงานเป็นทีม การบริหารจัดการองค์กร การนำองค์กร การปรับปรุงและพัฒนาองค์กร ปรับ คิด ทำ
7หมวดของการจัดการที่ดี7หมวดของการจัดการที่ดี โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำองค์กร 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 6.1 กระบวนการสร้างคุณค่า จัดระบบบริการสุขภาพโดยรวม บริการรายบุคคลและครอบครัว การดูแลกลุ่มประชากร การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับองค์กรชุมชน 6.2 กระบวนการสนับสนุน สนับสนุนการบริหาร และวิชาการ สนับสนุนและประสานเชื่อมโยงบริการ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน หน่วยต่างๆ
กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิกระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 1.การจัดทีมสุขภาพ 2.การจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศและเวชระเบียน 3.ระบบการป้องกันการติดเชื้อ 4.ระบบการบริหารยาและเวชภัณฑ์ 5.ระบบการชันสูตร 6 อาคารสถานที่และความปลอดภัย 7.ระบบการบำรุงรักษาเครื่องมือ 8.การพัฒนาวิชาการ 9.การจัดระบบส่งต่อ 10.ระบบการประสานงานเครือข่าย/DHS CUP
เนื้อหาสำคัญของเกณฑ์ PCA ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนการบริหารจัดการ หมวด 1-5 ส่วนกระบวนการ หมวด 6 หมวด 7 ส่วนผลลัพธ์
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร สำคัญมาก • รู้จักตัวตนขององค์กร รู้พันธกิจ เข้าใจลักษณะพื้นฐาน สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์รอบด้าน ความอยากได้ อยากมี อยากเป็นขององค์กร เป็นการ Present ตัวเองให้คนอื่น มองเห็นได้ เข้าใจตนเอง และรู้ว่าประเด็นสำคัญที่องค์กรต้องให้ความสนใจที่จำเพาะกับบริบทขององค์กรเป็นเรื่องอะไร
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ลักษณะพื้นฐานขององค์กร ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร สภาพการแข่งขัน ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 1.ลักษณะองค์กร 1.1 ลักษณะพื้นฐาน ประเด็นประเมิน 1)พันธกิจหรือบทบาทหน้าที่ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ วัฒนธรรม ค่านิยมองค์กร 2)สภาพโดยรวมของทีมสุขภาพ เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน ระดับตำแหน่ง 3)เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 4)กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับ
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 1.2 ความสัมพันธ์ภายในและภายนอก ประเด็นประเมิน 1) โครงสร้างขององค์กร ระบบการกำกับดูแลตนเอง สายบังคับบัญชา 2) กลุ่มเป้าหมายรับผลงาน 3) บทบาทของผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ ผู้จัดการสนับสนุน ผลกระทบต่อการจัดบริการขององค์กร 4) แนวทางและวิธีการสื่อสาร
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 2. ความท้าทายที่สำคัญ ประเด็นประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ การแข่งขัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเปรียบเทียบกับพันธกิจ โดย 2.1เปรียบเทียบเพื่อการพัฒนา “ Better Practice” 2.2 กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 2.3 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ (แนวทาง ปมผ. การนำผลการประเมินมาปรับปรุง สร้างการเรียนรู้ในองค์กรเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องการพัฒนา)
ส่วนการบริหารจัดการองค์กรส่วนการบริหารจัดการองค์กร หมวด 1 การนำองค์กร • ทีมนำองค์กร มีการกำหนดนโยบายขององค์กร ชัดเจน • ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล • นโยบายการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อ วิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร • การสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติ รับทราบนโยบายขององค์กร • กำหนดวิธีการทบทวนผลการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์กรอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม การกำหนด ทิศทาง ขององค์กร การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี การทบทวน ผลการดำเนินการ ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (
1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร • 2)การกำกับดูแลตนเอง • การควบคุมกำกับและตรวจสอบผลการดำเนินงานเพื่อสร้างหลักประกันความรับผิดชอบ โปร่งใส • (โครงสร้างการบริหาร • กฎ ระเบียบปฏิบัติ • การกำกับดูแลตนเอง • แนวทางการตรวจสอบประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ) • 3)การทบทวนผลการดำเนินการ • วิธีการทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาจัดทำแผนปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและก้าวกระโดด • (การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร) 1)การกำหนดและถ่ายทอดทิศทาง • กำหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง ผลการดำเนินการที่คาดหวัง และถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ สื่อสาร 2 ทาง สร้างบรรยากาศให้รับทราบและเข้าใจทิศทางร่วมกัน
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม • 2)การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • มีการตัดสินใจในการปฏิบัติการที่อาศัยหลักมโนธรรมสอดคล้องกับกฎระเบียบข้อบังคับ • กำหนดเป็นค่านิยมวัฒนธรรมการทำงานของบุคลากรในเครือข่าย • การพิทักษ์สิทธิ์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3)การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ เป็นเจ้าภาพร่วมกิจกรรมทางศาสนากับชุมชน หรือ อาจส่งเสริมหรือสนับสนุนการตั้งชมรมต่างๆ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและเกิดภาพลักษณ์ที่ดีกับหน่วยบริการและเครือข่าย • 1)ความรับผิดชอบต่อสังคม • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบต่อสังคม • วิเคราะห์ผลกระทบของการบริการ และการปฏิบัติงานในทางลบต่อสังคมนำมาเพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยง
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ องค์กรมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ กำหนดกลยุทธ์ให้เป็นไปตามพันธกิจ และวิสัยทัศน์ขององค์กร นำแผนไปสู่การปฏิบัติ มีการวัดความก้าวหน้า
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ การจัดทำยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • มีวิธีการวางแผนยุทธศาสตร์ • มีการนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน • ปัญหาสุขภาพ ความต้องการ คาดหวัง • มีการกำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกรอบเวลาในการบรรลุ • มีการกำหนดตัวชี้วัด เป้าหมาย
2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์ไปปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • มีการคาดการณ์ผลการดำเนินการเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ /ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ระดับเทียบเคียงที่สำคัญ • นำผลการดำเนินงานมาปรับปรุงงาน และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง • มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ • การนำแผนไปปฏิบัติ • (ถ่ายทอดแผน) • การจัดสรรทรัพยากร
ประเด็นประเมินตนเอง มีการวางแผนยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน ตอบสนองต่อพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการจัดทำยุทธศาสตร์ มีความต่อเนื่องของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ • มีการนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ • การถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ • มีแผนสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงานให้ เพียงพอ ทันเวลา • มีการประเมินผลการดำเนินการและการคาดการณ์ ผลการดำเนินการ
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ กำหนดแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (Objectives) • ตัวชี้วัด (KeyPerformanceIndicators) • เป้าหมาย (Target) • ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าประสงค์ (Time frame) • กลวิธี (initiatives)
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับรู้ความต้องการบริการ จัดบริการที่ตอบสนอง สร้างความสัมพันธ์ พึงพอใจ What How
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีการรับฟัง ศึกษาความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อกำหนดบริการ แนวทางการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อความต้องการ • มีการทบทวน ปรับปรุงวิธีการรับฟังให้เหมาะสม ทันสมัย
3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • การจัดช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • มีการวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ แล้วนำข้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • มีการปรับปรุงพัฒนาวิธีประเมินให้เหมาะสม ทันสมัย
การวิเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการการวิเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการ การปรับปรุงและพัฒนา การจำแนกประเภทผู้รับบริการ กลุ่ม WECANDO ปกติ,เสี่ยง,ป่วย หาความต้องการ/คาดหวัง การออกแบบและจัดบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Customer Profile
ประเด็นประเมินตนเอง • มีการกำหนดความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร • มีการดำเนินการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • กำหนดปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจ และกล่าวถึงเครือข่ายสุขภาพในทางที่ดี
หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นหมวดในด้านการวัดประเมินผล การจัดการข้อมูล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล และการจัดการความรู้เพื่อทบทวนผลการดำเนินงาน และนำไปใช้วางแผนพัฒนาการจัดการและกระบวนการดำเนินงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดวิเคราะห์ผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ การจัดการ ความรู้ การวัดผลการดำเนินการ การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ
4.1 การวัดวิเคราะห์ผลการดำเนินการ การวัดผลการดำเนินการ การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ -มีการประเมินผลงาน วิเคราะห์งาน โดย 1.การสรุปข้อมูลของชุมชน วิเคราะห์ปัญหาชุมชน 2.จัดระบบการประสานข้อมูลและส่งต่อข้อมูลแก่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นใดที่ควรพัฒนา ปรับปรุงเพิ่มเติม 4.การสื่อสารผลการวิเคราะห์ให้กับบุคลากร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการปรับปรุงและหาโอกาสสร้างนวัตกรรม ถ่ายทอดวิธีการปฏิบัติ (Best Practice ) - มีการเลือก รวบรวมข้อมูล ตัวชี้วัด สำคัญ โดย 1.การจัดทำระบบฐานข้อมูล (HosXp, ข้อมูล 21 แฟ้ม, Family Folder,Community Folder, ทะเบียนกลุ่มประชากรเป้าหมาย) 2.จัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน น่าเชื่อถือ ทันสถานการณ์ และง่ายต่อการสืบค้น 3.ทบทวนข้อมูลในส่วนที่บรรลุเป้าหมายและไม่บรรลุเป้าหมาย (Just) 4.จัดระบบวัดผลที่ทันต่อสถานการณ์และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
4.2 การจัดการสารสนเทศและการจัดการความรู้ ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ การจัดการความรู้ • การจัดการความรู้ (KM) • รวบรวมถ่ายทอดของบุคลากรในองค์กร • แลกเปลี่ยนถ่ายทอดจากองค์กรภายนอก • แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณภาพ • โดย • ความครอบคลุม ความรวดเร็ว • ความถูกต้อง ความทันสมัย • ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ • ความสามารถในการเข้าถึง • ความสามารถในการตรวจสอบ • การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล • ความปลอดภัย • การรักษาความลับ • การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ • ให้พร้อมใช้งาน • ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ • ให้เชื่อถือได้ • ปลอดภัย • ใช้งานง่าย • การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย
ประเด็นการประเมินตนเองประเด็นการประเมินตนเอง มีการวัด วิเคราะห์ผลงาน การจัดการความรู้ ที่ตอบสนองต่อเป้าหมาย พันธกิจ มีการทบทวนประเมินผล และปรับปรุงผลการดำเนินงาน การวัดผลการดำเนินงาน การใช้ประโยชน์จากข้อมูล
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้มีศักยภาพเต็มที่เพื่อองค์กรบรรลุผลสำเร็จ คือ เครื่องมือที่จะทำให้หน่วยบริการและเครือข่ายบริการปฐมภูมิสามารถสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมบรรยากาศในการทำงานที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคคลากร
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบบริหารงานบุคคล 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน ก.การพัฒนาบุคลากร
5.1 ระบบบริหารงานบุคคล การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร การจ้างงาน ความก้าวหน้าในงาน • การวางรูปแบบจัดระบบงาน • จัดการให้ทำงานตามภาระที่มอบหมายและองค์กรมีความคล่องตัว • สื่อสารแลกเปลี่ยน ความรู้ทักษะต่างหน้าที่ ต่างสถานที่ ต่างหน่วย • มีการจัดระบบประเมินผลที่โปร่งใสเป็นธรรม • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้าง • ความก้าวหน้าและการสืบทอดตำแหน่ง
5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความก้าวหน้าในงาน การพัฒนาบุคลากร • จัดระบบการเรียนรู้ โดย • ค้นหาความจำเป็น ความต้องการ • จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร • การประเมินผลการพัฒนาบุคลากร • การจูงใจให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่