1 / 38

มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ (CML , ซีเอ็มแอล)

มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ (CML , ซีเอ็มแอล). ศ.พ.ญ.แสงสุรีย์ จูฑา ร.พ. รามาธิบดี. 2 . 2 เม็ดเลือดขาว ชนิดลิมฟอยด์ Lymphoid. 2 . 1 เม็ดเลือดขาว ชนิดมัยอีลอยด์ Myeloid. การสร้างเม็ดเลือดของร่างกาย. ไขกระดูก. 3. เกร็ดเลือด. 1. เม็ดเลือดแดง.

naiya
Download Presentation

มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ (CML , ซีเอ็มแอล)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์(CML , ซีเอ็มแอล) ศ.พ.ญ.แสงสุรีย์จูฑา ร.พ. รามาธิบดี

  2. 2.2 เม็ดเลือดขาว ชนิดลิมฟอยด์ Lymphoid 2.1 เม็ดเลือดขาว ชนิดมัยอีลอยด์Myeloid การสร้างเม็ดเลือดของร่างกาย ไขกระดูก 3.เกร็ดเลือด 1.เม็ดเลือดแดง

  3. มะเร็งเม็ดเลือดขาว แบ่งตามลักษณะความรุนแรงของโรค แบ่งเป็น 2 ชนิด • ชนิดเฉียบพลัน • ชนิดเรื้อรัง

  4. มะเร็งเม็ดเลือดขาว แบ่งตามลักษณะของเซลล์ • แบบมัยอีลอยด์ • แบบลิมฟอยด์

  5. มะเร็งเม็ดเลือดขาว 1) ชนิดเฉียบพลัน ก. แบบมัยอีลอยด์ ข. แบบลิมฟอยด์ 2) ชนิดเรื้อรัง ก. แบบไมอีลอยด์ ( CML ซีเอ็มแอล) ข. แบบลิมฟอยด์

  6. มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ Chronic myeloid leukemia = CML ซีเอ็มแอล

  7. ไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน • อาจสัมพันธ์กับการได้รับ • สารกัมมันตภาพรังสี • ไม่ใช่โรคทางพันธุกรรม • ไม่ใช่โรคติดต่อ • พบประมาณ 1-2 คน ต่อ • 100,000 คน • พบได้ทั้งชายและหญิง เม็ดเลือดปกติ มะเร็งเม็ดเลือดขาว ทำไมจึงเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว

  8. อาการและอาการแสดง • เพลียไม่มีแรง • ผอมลง • ทานข้าวแล้วแน่นท้อง • คลำก้อนได้ในท้อง • ตรวจพบโดยบังเอิญจากการ ตรวจร่างกายประจำปี

  9. ความผิดปกติที่ตรวจพบ • เม็ดเลือดขาวในเลือดสูงขึ้น • พบมีตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวในเลือด • อาจมีเกร็ดเลือดสูงขึ้น • เจาะไขกระดูกพบความผิดปกติคือมีฟิลาเดลเฟียโครมโม โซม ซึ่งเกิดจากการสลับชิ้นส่วนโครโมโซมคู่ที่ 9 และ 22 ทำให้มีสารพันธุกรรม bcr-abl ( บีซีอาร์เอบีแอล) ซึ่ง เป็นยีนก่อมะเร็ง

  10. The t(9;22) translocation produces the Philadelphia (Ph) chromosome 9 9q+ ฟิลาเดลเฟียโครมโมโซม 22 บีซีอาร์-เอบีแอล บีซีอาร์ เอบีแอล เกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์

  11. ซีเอ็มแอลมี 3 ระยะ • ระยะเรื้อรัง 5-6 ปี • ระยะลุกลาม 6-9 เดือน • ระยะเฉียบพลัน 3-6 เดือน

  12. อุบัติการณ์ • พบในคนอายุ 15-60ปี • อายุเฉลี่ยประมาณ 36-38 ปี • พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเล็กน้อย

  13. การพัตนาการรักษาซีเอ็มแอลการพัตนาการรักษาซีเอ็มแอล ฟิลาเดลเฟียโครมโมโซม Chromosome Translocation บีซีอาร์-เอบีแอล Fowler’s Solution (Arsenic) การรักษา ฉายแสงม้าม นิโลทินิบ ดาซาทินิบ อิมาทินิบ ปลูกถ่ายไขกระดูก บูซัลแฟน ไฮเดรีย อิเทอเฟียรอน 1950s 1960s 1970s 1980s 1990s 2000s 2010s การติดตามการรักษา อาร์คิวพีซีอาร์ต่ำกว่า 0.1% ผลเลือดปกติ โครโมโซมปกติ

  14. รักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต stem cell transplantation • ปัจจุบันไม่แนะนำให้ใช้ในการรักษา เบื้องต้น • ใช้ในกรณีที่การรักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผลหรือมีการกลายพันธ์ที่ไม่ได้ผลด้วยยาหรือลุกลามไประยะรุนแรง • ผลข้างเคียงค่อนข้างมากอาจรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ • ข้อจำกัดเรื่องอายุทำได้ในคนอายุไม่มากน้อยกว่า 55 ปี • ต้องมีผู้บริจาคที่เหมาะสม

  15. การรักษา • ในปัจจุบันนี้มาตรฐานการรักษาคือการให้ยาเฉพาะ • ยาตัวแรกคืออิมาทินิบ • ในระยะเรื้อรังให้วันละ 400 มก • ระยะลุกลามหรือเฉียบพลันให้วันละ 600-800 มก • ต้องรับประทานยาพร้อมอาหารและน้ำแก้วใหญ่ • ห้ามรับประทานส้มมะเฟืองทับทิมรวมทั้งน้ำผลไม้เหล่านี้

  16. การตรวจก่อนให้การรักษา การตรวจก่อนให้การรักษา 1) การตรวจนับเม็ดเลือด(ซีบีซี) ดูจำนวนเม็ดเลือดแดงเม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือด 2) ตรวจไขกระดูกดูฟิลาเดลเฟียโครโมโซม 3) ตรวจ RQ – PCR (อาร์คิวพีซีอาร์ดู ยีนบีซีอาร์เอบีแอล) ตรวจได้ละเอียดกว่า ใช้สำหรับในกรณีที่ตรวจไม่พบฟิลาเดลเฟีย โครโมโซม 4) ตรวจดู FISH ปัจจุบันไม่นิยมทำแล้ว

  17. การติดตามผลการรักษา • เจาะเลือดดูจำนวนเม็ดเลือดทั้ง ๓ชนิด จนกระทั่งผลปกติ • เจาะไขกระดูกดูฟิลาเดลเฟียโครมโมโซมจนเป็น 0 • เจาะเลือดตรวจอาร์คิวพีซีอาร์ดู บีซีอาร์เอบีแอล

  18. ตารางการตรวจ

  19. เป้าหมายการรักษา • ที่ 3 เดือน ผลเลือดควรจะปกติหมดม้ามที่เคยโตต้องยุบหมดและ ฟิลาเดลเฟียโครโมโซมควรจะลดลงน้อยกว่าร้อยละ 95 • ที่ 6 เดือน ฟิลาเดลเฟียโครโมโซมควรจะลดลงน้อยกว่าร้อยละ 35 • ที่ 12 เดือน ฟิลาเดลเฟียโครโมโซมควรจะลดลงเป็นศูนย์ • ที่ 18 เดือนผล RQ-PCR ควรจะน้อยกว่าร้อยละ 0.1 ( ตามค่ามาตรฐานสากล) • ถ้าผล RQ-PCR (อาร์คิวพีซีอาร์) เป็นศูนย์ระยะยาวน่าจะดีที่สุด

  20. เป้าหมายการรักษา จำนวนเซลล์มะเร็ง ผลเลือดปกติ ผลอาร์คิวพีซีอาร์ Baccarani M, et al. J ClinOncol. 2009;27(35):6041-6051 Radich JP. Blood. 2009;114:3376-3381

  21. เกิดอะไรขึ้นถ้าไม่บรรลุเป้าหมายหรือพลาดหลักชัยที่กำหนดไว้เกิดอะไรขึ้นถ้าไม่บรรลุเป้าหมายหรือพลาดหลักชัยที่กำหนดไว้ • หากคุณพลาดเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งคุณและแพทย์ควรหารือกันถึงทางเลือกการรักษาต่างๆ • ผู้ป่วยบางรายบรรลุเป้าหมายต่างๆเร็วกว่าผู้ป่วยรายอื่นๆ • ยิ่งคุณบรรลุเป้าหมายได้เร็วมากเท่าใดก็ยิ่งเป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณเท่านั้น • แม้คุณจะไม่บรรลุเป้าหมายระหว่างการรักษาก็ยังมีทางเลือกในการรักษาหลายอย่างที่สามารถทำให้ผลการรักษาคุณกลับดีขึ้นได้อีกครั้ง

  22. ผลของยาอิมาตินิบในผู้ป่วย CML

  23. ผลการรักษาจากอิมาทินิบผลการรักษาจากอิมาทินิบ • ร้อยละ 75 ผู้ป่วยมีฟิลาเดลเฟียลดลงจนเป็นศูนย์ • ร้อยละ 85 ของผู้ป่วยยังมีชีวิตที่ 8 ปี • อัตราการที่โรคกำเริบหลังปีที่5 แทบเป็น 0 • ผู้ป่วยจำนวนหนึ่งไม่ได้ผลอาจจะไม่ได้ผลตั้งแต่ต้นหรือเคยได้ผลแล้วตอนหลังไม่ได้ผลโรคกลับมาใหม่ • การใช้ยาตัวที่ 2 หรือ 3 ( นิโลทินิบหรือ ดาซาทินิบ) ได้ผลพอสมควร

  24. ผลข้างเคียงของยาอิมาตินิบผลข้างเคียงของยาอิมาตินิบ • คลื่นไส้ อาเจียน • บวม • ปวดกล้ามเนื้อปวดกระดูก • ผื่นคันที่ผิวหนัง • ท้องเสีย • เม็ดเลือดขาวต่ำ • เกร็ดเลือดต่ำ • การทำงานของตับผิดปกติ

  25. ผู้ป่วยที่ไม่ได้ผลจากอิมาทินิบผู้ป่วยที่ไม่ได้ผลจากอิมาทินิบ • มียาที่ใช้ได้ ๒ตัว • นิโลทินิบและดาซาทินิบ • ไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบ • ผลไม่แตกต่างกันนัก • ผลข้างเคียงต่างกัน • นิโลทินิบมีโครงการช่วยเหลือผู้ป่วยในสิทธิบัตรทองแต่ดาซาทินิบไม่มี

  26. สิทธิข้าราชการ ปกส บัตรทอง อิมาทินิบ นิโลทินิบ ดาซาทินิบ ปลูกถ่ายไขกระดูก อิมาทินิบ นิโลทินิบ อิมาทินิบ ปลูกถ่ายไขกระดูก

  27. ปัจจุบันมีการศึกษาใช้ยานิโลทินิบและดาซาทินิบในผู้ป่วยใหม่ที่ยังไม่เคยได้รับการรักษามาก่อนเลยปัจจุบันมีการศึกษาใช้ยานิโลทินิบและดาซาทินิบในผู้ป่วยใหม่ที่ยังไม่เคยได้รับการรักษามาก่อนเลย • พบว่าทั้ง ๒ตัวได้ผลดีกว่าอิมาทินิบ

  28. ENESTnd Trial การศึกษาเปรียบเทียบยานิโลทินิบกับอิมาทินิบ ในผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการวินิจฉัยใหม่ สุ่ม เลือก นิโลทินิบ 300 มก ทุก 12 ชม (n = 282) • จำนวนผ.ป. = 846 • 217 ร.พ. • 35 ประเทศ นิโลทินิบ 400 มก ทุก 12 ชม (n = 281) อิมาทินิบ 400 มกต่อวัน (n = 283) ติดตามผ.ป. 5 ปี • เป้าหมายหลัก: อาร์คิวพีซีอาร์น้อยกว่า 0.1% ที่ 12 เดือน • : เป้าหมายรอง : อาร์คิวพีซีอาร์น้อยกว่า 0.1%คงที่ที่ 24 เดือน • Other endpoints: CCyR, time to MMR and CCyR, EFS, PFS, time to AP/BC, OS *Stratification by Sokal risk score

  29. ผลการศึกษา • ผู้ป่วยที่ได้รับนิโลทินิบทั้ง 2 ขนาด ได้ผลดีกว่าอิมาทินิบทั้งในแง่ของจำนวนผู้ป่วยที่มีฟิลาเดลเฟียโครโมโซมลดลงเป็นศูนย์จำนวนผู้ป่วยที่มีอาร์คิวพีซีอาร์ลดลง • ผู้ป่วยที่ได้รับนิโลทินิบทั้ง 2 ขนาดมีผลข้างเคียงน้อยกว่าผู้ป่วยที่ได้รับอิมาทินิบ • โดยสรุปนิโลทินิบให้ผลการรักษาที่ดีกว่าอิมาทินิบ • ขณะนี้ นิโลทินิบได้รับการอนุมัติให้ใช้ได้ในผู้ป่วยซีเอ็มแอลตั้งแต่เริ่มวินิจฉัยในประเทศไทยแล้ว • ในประเทศไทยนิโลทินิบมีราคาถูกกว่าอิมาทินิบ

  30. DASISION (CA180-056) Study Design: An Ongoing Global Phase 3 Study ดาซาทินิบ100 มก ต่อวัน (n = 259) • Treatment naïve CML-CP Patients (N = 519) • 108 ร.พ. • 25 ประเทศ ติดตามผ.ป. Randomized* 5 ปี อิมาทินิบ400 มก ต่อวัน (n = 260) *Stratified by Hasford risk score • เป้าหมายหลัก: ฟิลาเดลเฟียโครโมโซมเป็นศูนย์ที่12 เดือน • Secondary/other endpoints: Rates of CCyR and MMR, times to CCyR and MMR, time in CCyR (measure of duration), progression-free survival, overall survival

  31. ผลการศึกษา • ผู้ป่วยที่ได้รับดาซาทินิบได้ผลดีกว่าผู้ป่วยที่ได้รับอิมาทินิบ • ขณะนี้ดาซาทินิบได้รับการอนุมัติให้ใช้ได้ในผู้ป่วยซีเอ็มแอลตั้งแต่เริ่มวินิจฉัยในประเทศไทยแล้ว • ดาซาทินิบราคาแพงกว่าอิมาทินิบ

  32. Is CMR achieved with imatinib the same as with nilotinib? 1012 100% ผลเลือดปกติ 1011 10% ฟิลาเดลเฟียโครโมโซมเป็นศูนย์ 1010 1% BCR-ABL ratio (IS) อาร์คิวพีซีอาร์น้อยกว่า0.1% 109 0.1% 108 0.01% อาร์คิวพีซีอาร์เป็นศูนย์ จำนวนเซลล์มะเร็ง 0.001% 107 ต่ำกว่าที่จะตรวจได้ 106 อิมาทินิบ 105 104 นิโลทินิบ 103 102 101 0 Adapted from Baccarani et al, Blood 2006

  33. รับประทานยาตามแพทย์สั่งรับประทานยาตามแพทย์สั่ง • ไปพบแพทย์ตามนัด • หากมีอาการผิดปกติไปพบแพทย์ก่อนนัดเพื่อขอคำแนะนำ • อย่าเปลี่ยนแปลงขนาดของยาเองโดยไม่ได้ปรึกษาแพทย์ • ตรวจเลือดทุกครั้งที่ไปพบแพทย์ • ในกรณีที่เม็ดเลือดขาวต่ำ ควรหลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ที่ไม่สบายหรือหลีกเลี่ยงสถานที่แออัด • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีปฏิกิริยากับยาที่รับประทาน วิธีปฏิบัติตัวของผู้ป่วย

  34. ถ้าตรวจพบว่าฟิลาเดลเฟียโครโมโซมเป็นศูนย์แล้ว สามารถหยุดยาได้หรือไม่?

  35. ผู้ป่วยบางรายหลังจากไม่พบฟิลาเดลเฟียโครโมโซมแล้ว อาจจะไม่ได้รับประทานยาตามที่ควรพบว่าเมื่อตรวจไขกระดูกประจำปีหลายคนมีฟิลาเดลเฟียโครโมโซมกลับมาอีกบางคนเกิดหลังจากรับประทานยามาหลายปีแล้ว เป็นไปได้ว่าอาจจะไม่ได้รับประทานยาตามที่ควรจะทำ

  36. ในปัจจุบัน CML ถือเป็นโรคเรื้อรังคล้ายโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ซึ่งถ้าผู้ป่วยรับประทานยาตลอดสามารถ มีชีวิตเหมือนคนปกติทั่วๆไปได้

  37. ปัจจุบันมีผู้ป่วยจำนวนมากที่สามารถใช้ชีวิตตามปกติกับมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ได้อย่างเต็มที่และคุณเองก็สามารถทำได้เช่นเดียวกันปัจจุบันมีผู้ป่วยจำนวนมากที่สามารถใช้ชีวิตตามปกติกับมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์ได้อย่างเต็มที่และคุณเองก็สามารถทำได้เช่นเดียวกัน • ปัจจุบันผู้ป่วยซีเอ็มแอลจำนวนมากมีชีวิตได้ตามปกติ

  38. ขอบคุณค่ะ

More Related