430 likes | 435 Views
“ ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R ” โดย. นาวาตรี ดร . พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. ( 29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา( 52- ปัจจุบัน) พย.บ. มหิดล , วท.บ. ( สุขศึกษา ) ,ศษ.บ. ( บริหารการศึกษา ) ศษ.บ. ( การวัดและประเมินผลการศึกษา )
E N D
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R” โดย นาวาตรี ดร.พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. (29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา(52-ปัจจุบัน) พย.บ. มหิดล , วท.บ. ( สุขศึกษา ) ,ศษ.บ.( บริหารการศึกษา ) ศษ.บ. ( การวัดและประเมินผลการศึกษา ) ค.ม. (การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค.ด.(Ph.D.)(การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความสัมพันธ์ • การปฏิบัติงานประจำสู่งานวิจัย R to R (Routine to Research) • การวิจัยปฏิบัติการ AR (Action Research) • การวิจัยพัฒนา R&D (Research and Development) • นำไปสู่ KM ( Knowledge Management ) • นำไปสู่ LO (Learning Organization)
ความรู้( Knowledge ) • ข้อมูล ( Data) • สารสนเทศ ( Information ) • องค์ความรู้ ( Knowledge )
ชนิดของความรู้( Type of Knowledge ) • ความรู้เดิม ความรู้ใหม่ • ความรู้ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge) • ความรู้ที่ในบุคคล ( Tacit Knowledge)
องค์ประกอบของการจัดการความรู้องค์ประกอบของการจัดการความรู้ • การแสวงหาความรู้ • การสร้างความรู้ • การจัดเก็บความรู้ • การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์
การแสวงหาความรู้ • อ่าน • ฝึกหัด • ศึกษา • อบรม • ประชุม • สัมมนา
การสร้างองค์ความรู้( การวิจัย ) • วิจัยเชิงบรรยาย • วิจัยเชิงพัฒนา • วิจัยเชิงประเมิน • วิจัยเชิงทดลอง
การจัดเก็บความรู้ • ห้องพักผ่อน • ห้องสมุด • ศูนย์สารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ
การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์ • รูปแบบการเข้าถึง • ระบบการยืมคืน • ระบบการถ่ายโอนความรู้ • ระบบการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ • การสร้างเครือข่าย
องค์ประกอบของ องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning Organization : LO) • การเรียนรู้หรือ พลวัตการเรียนรู้ ( Learning Dynamics ) • องค์การหรือ การปรับเปลี่ยนองค์การ ( Organization Transformation ) • สมาชิกในองค์การ หรือ การเสริมพลังอำนาจ ( People Empowerment )
ความรู้หรือ การจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) • เทคโนโลยี หรือ การนำเทคโนโลยีไปใช้ ( Technology Application )
“ การวิจัย ” • การศึกษา ค้นคว้า • ได้องค์ความรู้ใหม่ สิ่งใหม่ๆ • อย่างเป็นระบบ • โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • เชื่อถือได้ / มีความน่าเชื่อถือ
งานวิจัย Research • ป.โท Thesis • ป.เอก Dissertation Academic research Formal research
งานประจำ สู่ งานวิจัย R to R • วิจัยสถาบัน
งานวิจัยปฏิบัติการ • วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน Classroom Action research Informal research
Routine • การปฏิบัติงาน • ประจำ • สม่ำเสมอ • เป็นปกติ
Routine to Research • การเปลี่ยนแปลง • การพัฒนา • การปฏิบัติงาน
Type of R to R • พัฒนากระบวนการทำงาน • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • ลดอัตราการสูญเปล่า • พัฒนานวัตกรรม • รายงานการใช้นวัตกรรม • การประเมินโครงการ:ผู้รับบริการ • การประเมินโครงการ:พัฒนาบุคลากร
ชื่อเรื่อง วิธีวิทยา ตัวแปร กลุ่มเป้าหมาย
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ 1. ความคาดหวัง เป้าหมาย 2. สภาพปัจจุบัน 3. ประเด็นที่ต้องการทำวิจัย และ สิ่งที่คิดว่าจะเกิดหลังทำวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อ 2. สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 3. ตอบคำถามวิจัยได้ทั้งหมด
ประโยชน์ที่ได้รับ • ระบุสิ่งที่เป็นประโยชน์ • ทำให้ได้อะไร • ทำให้ทราบอะไร • นำไปใช้ประโยชน์อะไร
นิยามศัพท์ • นิยามตัวแปร • นิยามตามพจนานุกรม • นิยามปฏิบัติการ
บทที่ 2 การศึกษาวรรณกรรม
วรรณกรรม(เขียนอะไร) • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับตัวแปร • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีวิทยา • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ( กับตัวแปร • กับวิธีวิทยา หรือ กลุ่มตัวอย่าง )
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ
วิธีการวิจัย • ระบุแบบแผน • เชิงบรรยาย • เชิงประเมิน • เชิงพัฒนา
ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง • ระบุประชากร ชัดเจน บอกจำนวน • กลุ่มตัวอย่าง • การกำหนดขนาด • วิธีการสุ่ม
เครื่องมือ • แบบวัดตัวแปรชนิดต่างๆ • แบบสอบถาม • แบบวัดความรู้ • แบบวัดทักษะ
การแปลความหมายคะแนน 1. คะแนนจาก rating scale - Mid point average - ช่วงเท่า 2. คะแนนจากการวัดความรู้ - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย 3. สถิติอ้างอิง
การหาคุณภาพเครื่องมือการหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า IOC
สถิติหาคุณภาพเครื่องมือสถิติหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า P ค่า r
สถิติหาคุณภาพเครื่องมือสถิติหาคุณภาพเครื่องมือ • ค่า Reli • ค่า • ค่า KR-20
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ใครเก็บ • เก็บที่ไหน • เก็บเมื่อใด
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์การนำเสนอผลการวิเคราะห์ • 1. ตารางข้อมูลทั่วไป • 2. ตารางค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • 3. ตารางเปรียบเทียบ Pre test - Post test • ตารางศึกษาพัฒนาการ/needs assessment • ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย • ตารางความสัมพันธ์
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล เสนอแนะ
การเขียนสรุป • สรุป จากบท 1 , 3 และ 4 • (ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์) • 2. อภิปรายผล ตามสมมุติฐาน หรือ คำถามวิจัยอ้างตามบท 2 • 3. ข้อเสนอแนะ • จากผลวิจัย • การทำวิจัยครั้งต่อไป
การเขียนรายงาน ปก บทคัดย่อ 1. บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ 2. การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. วิธีดำเนินการ 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
K M ( การเผยแพร่ การใช้ประโยชน์)
L O ( การจัดระบบ เป็นประจำ ต่อเนื่อง)