1.62k likes | 3.89k Views
หลักการบริหารเบื้องต้น. บรรยายโดย ผศ. ดร. นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์. วันที่ 5 มกราคม 2549: 8.00 -11.00. วัตถุประสงค์. สามารถอธิบายความหมายการบริหาร สามารถอธิบายหลักการและกระบวนการบริหาร. เนื้อหา. การบริหาร : ความหมาย หลักการบริหาร. การบริหาร (Management). คืออะไร.
E N D
หลักการบริหารเบื้องต้นหลักการบริหารเบื้องต้น บรรยายโดย ผศ. ดร. นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์ วันที่ 5 มกราคม 2549: 8.00 -11.00
วัตถุประสงค์ • สามารถอธิบายความหมายการบริหาร • สามารถอธิบายหลักการและกระบวนการบริหาร
เนื้อหา • การบริหาร: ความหมาย • หลักการบริหาร
การบริหาร (Management) คืออะไร
การบริหาร (Management) ความหมาย • การใช้คนและเทคนิคต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือตามแผนงานที่วางไว้
การบริหาร (Management) ความหมาย • การจัดใช้กำลังคน กำลังเงิน กำลังวัสดุ และเวลาที่มีอยู่ให้ได้ผลมากที่สุด โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด
การบริหาร (Management) ความหมาย • การทำให้วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ บรรลุผลสำเร็จ โดยการ จัดสิ่งแวดล้อมทั้งหลายคือ เงิน คน วัสดุ เวลา ให้เป็นอุปกรณ์แก่การปฏิบัติงาน (Prof. Koontz)
การบริหาร (Management) ความหมาย • การวางแผนงานและการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนโดยจัดกำลังคน เงิน วัสดุ การประสานงาน การอำนวยการ การติดต่อสื่อสารและการควบคุมงานให้เหมาะสมที่สุด (Prof. Mold)
การบริหาร (Management) ความหมาย • ศิลปะ ในการทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยความร่วมมือจากบุคคลอื่น (Art of getting things done through and with people)
ปัจจัยการบริหาร ปัจจัยการบริหารที่สำคัญ คือ 3Ms • คน (Men) • เงิน (Money) • วัสดุเครื่องมือเครื่องใช้ (Materials)
ปัจจัยการบริหาร Prof. Peter Drucker • คน (Men) • เงิน (Money) • วัสดุเครื่องมือเครื่องใช้(Materials) • อำนาจหน้าที่ (authority) • เวลา (time)
ปัจจัยการบริหาร ระยะหลัง มีผู้เสนอว่าปัจจัย 5 ที่กล่าวมายังไม่พอ ควรเพิ่มอีก 2 • คน (Men) • เงิน (Money) • วัสดุเครื่องมือเครื่องใช้(Materials) • อำนาจหน้าที่ (authority) • เวลา (time) • จิตใจในการทำงาน (mind) • อุปกรณ์อำนวยความสะดวก (facilities)
หน้าที่ของผู้บริหาร • การเป็นผู้นำ • การจัดระเบียบ • การประสานงาน • การรับผิดชอบ
ระดับการบริหาร • ระดับต้น - หัวหน้าพนักงานเปล • ระดับกลาง - หัวหน้าแผนก • ระดับสูง - ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ลักษณะของการบริหาร • การบริหารเป็นศาสตร์ และศิลป์ • การบริหารเป็นกระบวนการ • มีจุดมุ่งหมาย • เน้นความสำเร็จตามเป้าหมาย • สำคัญต่อทั้งภายในและภายนอกองค์การ
ศาสตร์ ? ศิลป์ ? การบริหารเป็นทั้ง ศาสตร์ และ ศิลป์
การกำหนดนโยบาย (Policy) การกำหนดอำนาจหน้าที่ (Authority) การวางแผนงาน (Planning) การจัดองค์การ ( Organizing ) การจัดคนงาน ( Staffing ) การอำนวยการ ( Directing ) การประสานงาน ( Coordinating ) รายงาน ( Reporting ) การเงินหรืองบประมาณ ( Budgeting) กระบวนการบริหาร (PAPOSDCORB)
การวางแผนงาน (Planning) การจัดองค์การ ( Organizing ) การจัดคนงาน ( Staffing ) การอำนวยการ ( Directing ) การประสานงาน ( Coordinating ) รายงาน ( Reporting ) การเงินหรืองบประมาณ ( Budgeting) กระบวนการบริหาร (POSDCORB)
การวางแผนงาน (Planning) การจัดองค์การ ( Organizing ) การจัดคนงาน ( Staffing ) การอำนวยการ ( Directing ) การนำสิ่งใหม่เข้ามาใช้(Innovation) การวิจัย ( Research) กระบวนการบริหาร (POSDIR)
การวางแผนงาน (Planning) การจัดองค์การ ( Organizing ) การจัดคนเข้าทำงาน ( Staffing ) การอำนวยการ ( Directing ) การควบคุมงาน (Control) หน้าที่หลักของนักบริหาร 5 ประการจากหนังสือ Principles of management โดย Prof. Koontz
กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย เป้าหมาย พิจารณาข้อมูล ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ และปัญหาในอนาคต กำหนดการประสานงาน ควบคุมงาน จะให้ใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด วิธีใด ประเมินผล แก้ไขปรับปรุงแผน 1.หน้าที่ในการวางแผน (Planning)
จัดตั้งหน่วยงาน จัดระเบียบองค์การ กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ สายการบังคับบัญชา วิเคราะห์การจัดหน่วยงาน การปรับปรุงหน่วยงาน 2. หน้าที่ในการจัดองค์การ (Organizing)
คัดเลือกคน ฝึกอบรมทักษะในงาน ยึดเหนี่ยวน้ำใจคน จัดการบริหารงานบุคคลตามหลักวิชา ระบบอุปถัมภ์หรือระบบคุณวุฒิ 3.หน้าที่ในการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
จัดให้มีการประสานงาน ในสายงานการปกครองบังคับบัญชา จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง มอบอำนาจหน้าที่ กระจายอำนาจหรือรวมอำนาจการบริหาร ออกคำสั่งด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน 4.หน้าที่ในการอำนวยการ ( Directing )
กำหนดให้มีการติดตามประเมินผลงาน เพื่อดู ความก้าวหน้า อุปสรรค ความพอใจของลูกค้า งานได้มาตรฐานที่กำหนดหรือไม่ 5.หน้าที่ในการควบคุมงาน (Control)
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัดแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัดแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด การบริการด้านกิจกรรมบำบัดมักบริหารจัดการในรูปแบบ- แผนกหรือหน่วยงานหนึ่งในโรงพยาบาลของรัฐ - แผนกหรือหน่วยงานหนึ่งในโรงพยาบาลเอกชน- แผนกหรือหน่วยงานหนึ่งในโรงเรียนเด็กพิเศษ
แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารFrederick W. Taylor, 1911 • การบริหารตามหลักเกณฑ์ (Scientific Management) ***** One best way ***** การทำงานโดยไม่มีประสิทธิภาพของมนุษย์ เกิดจากการจัดการงานไม่เป็น มากกว่าความโง่เขลา มุ่งสนใจที่ งาน และประสิทธิภาพของงานที่ปฏิบัติ
แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารHenri Fayol, 1916 • แบ่งงานกันทำ • กำหนดหน้าที่ ความรับผิดขอบ • กำหนดระเบียบข้อบังคับ วินัยของคนส่วนมาก • การบังคับบัญชาขึ้นกับนายคนหนึ่ง • จ่ายเงินเดือน ผลประโยชน์ยุติธรรม • ทุกคนในหน่วยงานมีความสามัคคี ร่วมใจกันทำงาน • มุ่งเน้น ตัวผู้บริหาร และหน้าที่งานที่ผู้บริหารจะต้องปฏิบัติ
แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารResult Based Management • กำหนด results • วางแผน what where who when how • ดำเนินการ • ประเมินผลการดำเนินงาน
การบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัดการบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัด 1. การวางแผน- กิจกรรมการให้บริการ โครงการ- สถานที่ - เครื่องมือและอุปกรณ์ - งบประมาณ - บุคลากร แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
การบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัดการบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัด 2. การจัดแผนกหรือหน่วยงาน และ การอำนวยการ- กำหนดประเภท/ชนิดของการให้บริการ- กำหนดราคาของการบริการ - การจัดสถานที่ใช้สอยให้เหมาะสมกับงาน - การจัดเก็บ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ- การบริหารงบประมาณที่ได้รับ แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
การบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัดการบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัด 3. การจัดแผนกหรือหน่วยงาน และ การอำนวยการ- การจัดแบบฟอร์มให้เพียงพอและเหมาะสมกับการทำงาน- การจัดเก็บข้อมูล- การจัดเก็บวัสดุสิ้นเปลือง- การมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
การบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัดการบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัด 4. การจัดการ staff- กำหนดวิธีการเพิ่มความรู้ และทักษะแก่ staffs- การเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน- การขอผลงานเพื่อเลื่อนขั้น ตำแหน่ง แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
การบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัดการบริหารหน่วยงานกิจกรรมบำบัด 5. การควบคุมงาน- ประเมินผลการปฏิบัติงานทุกเดือน- ประเมินผลโครงการทุก 3-6 เดือน- จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหน่วยงาน แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางกิจกรรมบำบัด
การประกันคุณภาพหน่วยงานการประกันคุณภาพหน่วยงาน • P = Plan • D = Do • C = Check • A = Act ตัวบ่งชี้คุณภาพ KPI คือ Key Performance Index รายงานการประเมินตนเอง SAR คือSelf Assessment Report
เอกสารอ้างอิง • ธงชัย สันติวงษ์. (2537). องค์การและการบริหาร Organization and Management. พิมพ์ครั้งที่9. วัฒนาไทยพานิช • สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหาร (Management). สำนักพิมพ์ดอกหญ้า