180 likes | 338 Views
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย. รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwata@mail.med.cmu.ac.th. ประสบการณ์การดำเนินงาน แผนงานสร้างเสริมสุขภาพ แรงงานนอกระบบในภาคการเกษตร.
E N D
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการอาชีวอนามัยในสถานีอนามัยระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการอาชีวอนามัยในสถานีอนามัย รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพวิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwata@mail.med.cmu.ac.th
ประสบการณ์การดำเนินงานแผนงานสร้างเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบในภาคการเกษตรประสบการณ์การดำเนินงานแผนงานสร้างเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบในภาคการเกษตร
5) การปรับรุงระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของแรงานนอกระบบ5) การปรับรุงระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของแรงานนอกระบบ • โครงการ การสร้างเสริมความแข็งแกร่งด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้กับองค์กรภาคบริการสาธารณสุขในภาคกลาง • การสร้างระบบฐานข้อมูลสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง จัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากการทำงาน สร้างและจัดระบบบริการสุขภาพของสถานบริการในการทำงานให้เกษตรกร
ระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัย :(HCIS) Health Center Information System การวิเคราะห์ ประมวลผล ระบบข้อมูลสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง รูปแบบการจัดบริการ
ระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัย :Health Center Information System(HCIS) MS Access 97 จัดการฐานข้อมูล ให้บริการสาธารณสุข ประมวลผล
การบันทึกข้อมูลการให้บริการการบันทึกข้อมูลการให้บริการ เพิ่มข้อมูลผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ
การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม
ข้อมูล WEB BASE WEB SERVER
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่จัดเตรียมเพื่อสนับสนุนหน่วยบริการเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่จัดเตรียมเพื่อสนับสนุนหน่วยบริการ
สร้างรูปแบบการจัดบริการดูแลสุขภาพฯ ในสถานบริการ
ระบบบริการอาชีวอนามัยอันพึงประสงค์ระบบบริการอาชีวอนามัยอันพึงประสงค์
ระบบบริการสุขภาพ “การดำเนินการเพื่อยกฐานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดีขึ้นโดยมีกิจกรรมครอบคลุม 4 ด้านคือ การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพทั้งนี้อาจดำเนินการโดยรัฐหรือประชาชนด้วยกันเอง”
แนวคิดระบบบริการสุขภาพแนวคิดระบบบริการสุขภาพ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชน (Primary care unit) ขั้นตอนที่ 2 การค้นหา/ขยายพันธมิตร ขั้นตอนที่ 3 การสำรวจข้อมูลทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 การจัดเวทีกลุ่ม/ภาคีที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำฐานข้อมูลด้านสุขภาพและอาชีวอนามัย ขั้นตอนที่ 6 สร้างระบบบริการสุขภาพแรงงานนอกระบบทั้งเชิงรับและเชิงรุก
ประเภทของระบบบริการสุขภาพประเภทของระบบบริการสุขภาพ 1. การบริการเชิงรุก ได้แก่ การจัดรูปแบบบริการที่เน้นด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2. การบริการเชิงรับ การจัดรูปแบบบริการที่เน้นด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ระบบบริการสุขภาพเชิงรุกระบบบริการสุขภาพเชิงรุก • การสำรวจสภาพการทำงานเบื้องต้น • การจัดทำฐานข้อมูล • การจัดเก็บข้อมูลลงใน Family folder • การให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยง • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ระบบบริการสุขภาพเชิงรับระบบบริการสุขภาพเชิงรับ • การให้บริการในสถานพยาบาล / PCU • การจัดทำระบบการบันทึกข้อมูลและรวบรวมรายงานที่สำคัญ • การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ • การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ และเสนอแนะการฟื้นฟูสุขภาพ รวมถึงการติดตามปรับปรุงสภาพการทำงาน
การขยายพันธมิตร/เครือข่ายการขยายพันธมิตร/เครือข่าย การพัฒนาจนท. การสำรวจข้อมูล การจัดทำฐานข้อมูล การจัดบริการเชิงรับและรุก การจัดเวที