390 likes | 482 Views
ข้อมูลและระบบฐานข้อมูล. นายอำนาจ ศรีพูนสุข. เค้าโครงการบรรยาย. ความหมาย & ความสำคัญของข้อมูล & สารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลแบบต่างๆ แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล. ความหมายของข้อมูล & สารสนเทศ. ข้อมูล (Data)
E N D
ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลข้อมูลและระบบฐานข้อมูล นายอำนาจ ศรีพูนสุข
เค้าโครงการบรรยาย • ความหมาย & ความสำคัญของข้อมูล & สารสนเทศ • แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลแบบต่างๆ • แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล
ความหมายของข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล (Data) - สิ่งที่อยู่ในรูปแบบของ ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รวมถึง ภาพ เสียง ผสมผสานกันไป สารสนเทศ (Information) - สิ่งที่ทำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ให้และผู้รับ เป็นผลลัพท์จากการจัดการ/การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) ระบบสารสนเทศ (InformationSystem) - ระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารในองค์กรให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างเป็นระบบระเบียบ
ความสำคัญของข้อมูล/ข่าวสารความสำคัญของข้อมูล/ข่าวสาร “ถ้าปราศจากข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำ ก็ไม่สามารถวางแผน / ตัดสินใจที่ดีได้” “INFORMATION IS POWER” “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” “GARBAGE IN GABAGE OUT” “โจรกระจอกเผาโรงเรียนใต้พร้อมกัน 20 แห่ง” “ไก่ตาย 40 ล้านตัว !!! ???”
1. A 4. D 2. B 5. E 3. C 6. F DATA INFORMATION KNOWLEDGE WISDOM ความสำคัญของข้อมูล/ข่าวสาร
คุณลักษณะของระบบข้อมูลและสารสนเทศที่พึงประสงค์คุณลักษณะของระบบข้อมูลและสารสนเทศที่พึงประสงค์ - ถูกต้อง - แม่นยำ - ตรงตามความต้องการ - รวดเร็ว - รูปแบบเหมาะสม (Right information for the right decision make at the right time in the right form)
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • ความรู้พื้นฐานเรื่องเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูล • ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองและหน่วยความจำหลัก
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ความรู้พื้นฐานเรื่องเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูล • เขตข้อมูล คือ การนำเอาอักขระหลายๆ ตัวรวมกัน โดยมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า ฟิลด์ (Field) • ระเบียน คือ กลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน หรืออาจเรียกอีกอย่างว่าเรคอร์ด (Record) • แฟ้มข้อมูล คือ กลุ่มของรายการข้อมูลที่สัมพันธ์หรือเหมือนกัน เช่น แฟ้มข้อมูล ทะเบียนประวัตินักศึกษา แฟ้มเก็บรายชื่อสินค้าในสต๊อก แฟ้มเก็บรายชื่อหนังสือในห้องสมุด หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า ไฟล์ (File)
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล ไฟล์ เรคอร์ด เรคอร์ด เรคอร์ด.. ฟิลด์ ฟิลด์ ... ไบต์ ไบต์ ... บิต บิต บิต บิต บิต...
การจัดระบบข้อมูล ระเบียน/Records ชื่อ เพศ อายุ สมชาย ชาย 20 ฐานข้อมูล Data base แฟ้มการทำบัตร ID กรณี ชื่อ 1234 บัตรหาย สมชาย
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • ชนิดของข้อมูล มีหลายรูปแบบ ดังนี้ • ข้อมูลแบบรูปแบบ (formatted data) เป็นข้อมูลที่รวมอักขระเป็นรูปแบบที่ แน่นอน อาจอยู่ในรูปของรหัส ซึ่งต้องตีความหมายอีกครั้ง • ข้อมูลแบบข้อความ (text)เป็นข้อมูลที่เป็นอักขระในแบบข้อความ โดยไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ความหมายจะอยู่ในข้อความ • ข้อมูลแบบภาพลักษณ์ (images) เป็นข้อมูลที่เป็นภาพหรือเป็นกราฟ • ข้อมูลแบบเสียง (audio) • ข้อมูลแบบภาพและเสียง (video) เป็นการจัดเก็บภาพและเสียงไว้รวมกัน
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • ลักษณะของระบบแฟ้มข้อมูล • ระเบียนขนาดคงที่ (fixed length record) • ระเบียนที่มีความยาวแปรได้ (variable length record) • การจัดการแฟ้มข้อมูล • การสร้างแฟ้มข้อมูล (file creating) • การปรับปรุง รักษาแฟ้มข้อมูล (updating)
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • ประเภทของแฟ้มข้อมูล • แฟ้มข้อมูลหลัก (transaction file) • แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) • แฟ้มข้อมูลตาราง (table file) • แฟ้มข้อมูลเรียงลำดับ (sort file)
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล • การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล • แบบลำดับ (sequential file) • แบบลำดับตามดัชนี (index sequential file) • แบบสัมพัทธ์ (relative file)
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองและหน่วยความจำหลัก • ชนิดของหน่วยความจำหลัก (RAM, ROM) • ชนิดของหน่วยความจำสำรอง - เข้าถึงได้โดยตรง เช่น Harddisk , ออพติคัลดิสก์ - เข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ขนาดความจุของหน่วยบันทึกข้อมูล ตามมาตรฐาน ISO 1024 3 ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 กิโลไบต์ (Kiobyte) 1024 6 ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 เมกะไบต์ (Megabyte) 1024 9 ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 กิกะไบต์ (Gigabyte) 1024 12 ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 เทราไบต์ (Terabyte) 1024 15 ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 เพ็ดทาไบต์ (Petabyte) 1024 18ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 เอ็กซาไบต์ (Exabyte) 1024 21ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 เซ็ตทาไบต์ (Zettabyte) 1024 24ไบต์ (ตัวอักษร) = 1 ยอททราไบต์ (Yottabyte) 1 เทราไบต์ ความจุเทียบเท่ากับหนังสือประมาณ 500 ล้านหน้า
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล • ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล • ฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน • การบริหารฐานข้อมูล • หน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล • กำหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล • กำหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลละวิธีการเข้าถึงข้อมูล • กำหนดขอบเขตการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล • ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล • ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน • รักษาความถูกต้องของข้อมูล • การป้องกันและการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ทำได้สะดวก • สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • มีความเป็นอิสระของข้อมูล • สามารถขยายงานได้ง่าย • ทำให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้อย่างรวดเร็วและมีมาตรฐาน
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล • ระบบการจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่ดังนี้ • ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้งาน • ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูล • ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้งานพร้อมกันหลายคน
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล • ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • รักษาความถูกต้องของข้อมูล • มีความเป็นอิสระของข้อมูล • มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง • ใช้ข้อมูลร่วมกันโดยมีการควบคุมจากศูนย์กลาง
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) • ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) • ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model)
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) • โครงสร้างของฐานข้อมูลเป็นความสัมพันธ์แบบพ่อลูก • เรคอร์ดพ่อมีเรคอร์ดลูกได้หลายเรคอร์ด แต่เรคอร์ดลูกมีเรคอร์ดพ่อได้เรคอร์ดเดียว
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) • ลักษณะเด่น • เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด • มีค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างฐานข้อมูลน้อย • ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย • เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นลำดับ • ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) • ข้อจำกัด • มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากที่สุด • ขาดความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลในรูปของเครือข่าย • มีความคล่องตัวน้อยกว่า เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
แฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อแฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลรายการสินค้า แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ โครงสร้างฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) • โครงสร้างของข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบร่างแห • ลักษณะเด่น • เหมาะสำหรับงานที่แฟ้มข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบเครือข่าย • มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยกว่าแบบลำดับชั้น • การค้นหาข้อมูลมีเงื่อนไขได้มากและกว้างกว่าแบบลำดับชั้น • ข้อจำกัด • ป้องกันความลับของข้อมูลได้ยาก • มีค่าใช้จ่ายและสิ้นเปลืองมากกว่า • ถ้าความสัมพันธ์มีมากเกินไป จะทำให้ออกแบบฐานข้อมูลมีความยุ่งยากซับซ้อน
แฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อแฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลรายการสินค้า แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ โครงสร้างฐานข้อมูลแบบเครือข่าย
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model) • โครงสร้างของฐานข้อมูลอยู่ในรูปของรีเลชัน หรือ ตาราง ประกอบด้วยแถว (Tuple) และสดมภ์ (Attribute) • การควบคุมความถูกต้อง • Tuple มีข้อมูลไม่ซ้ำกัน • Tuple ไม่มีลำดับจากบนลงล่าง • Attribute ไม่มีลำดับจากซ้ายไปขวา • ค่าของ Attribute ทุกค่าจะต้องเป็น atomicity • ตัวอย่างของภาษาปฏิบัติการ คือ SQL
แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆแนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ • ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model) • ลักษณะเด่น • เหมาะสำหรับงานเลือกดูข้อมูลแบบหลายฟิลด์ข้อมูล • ป้องกันข้อมูลถูกทำลายหรือแก้ไขได้ดี • การเลือกดูข้อมูลทำได้ง่าย • ข้อจำกัด • แก้ไขปรับปรุงข้อมูลทำได้ยาก • มีค่าใช้จ่ายของระบบสูงมาก
แฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อแฟ้มข้อมูลการสสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลรายการสินค้า แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า
แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล • คลังข้อมูล คือ ที่เก็บข้อมูลขององค์กรที่ได้รับการออกแบบ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร • เป้าหมายในการสร้างคลังข้อมูล เพื่อแยกกลุ่มข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางธุรกิจออกจากฐานข้อมูลที่ใช้งานประจำวันมาเก็บอยู่ใน Relational Database Management System (RDBMS) ประสิทธิภาพสูง และทำให้การเรียกใช้ข้อมูลชุดนี้ทำได้อย่างยืดหยุ่น รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล • ประโยชน์ของระบบคลังข้อมูล • ทำการรวบรวมข้อมูลที่มีความซับซ้อนให้ง่ายต่อการจัดเก็บ • สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูลสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล • คุณสมบัติของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูล • Subject Oriented ข้อมูลถูกสร้างจากหัวข้อที่สนใจ • Integrated ข้อมูลถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ แต่นำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลที่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียว • Time-variant ข้อมูลที่เก็บไว้ต้องมีอายุประมาณ 5-10 ปี เพื่อใช้เปรียบเทียบ หาแนวโน้ม • Non-volatile ข้อมูลไม่ถูกเปลี่ยนแปลงง่ายๆ ผู้ใช้สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้เท่านั้น
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูลสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล • ความแตกต่างของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (OLTP) • Consistency • Transaction • Time dimension • Normalization
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูลสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล • ส่วนประกอบของคลังข้อมูล • เครื่องมือสกัดแยกข้อมูล • ข้อมูลที่สกัดและแยกออกมาแล้ว • เมตาดาตาสำหรับแสดงเนื้อหาข้อมูล • ฐานข้อมูลสำหรับคลังข้อมูล • เครื่องมือจัดเก็บข้อมูลในคลังข้อมูล • โปรแกรมสำหรับจัดส่งข้อมูล • เครื่องมือวิเคราะห์สำหรับผู้ใช้ • ที่ปรึกษาด้านคลังข้อมูล • วัสดุและหลักสูตรการฝึกอบรม
? Q & A ขอบคุณครับ