E N D
บทที่ 1ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหาวิธีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของมนุษย์ให้ได้รับประโยชน์มากที่สุด
โดยสรุป เศรษฐศาสตร์หมายถึง • การตัดสินใจเลือกใช้ • ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด • มาใช้ผลิตสินค้าและบริการอย่าง • เศรษฐทรัพย์ Economics goods • สินค้าไร้ราคา Free goods • ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มีอยู่อย่างไม่จำกัด • อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
Adam Smith 17xx Classic Alfred Marshall 18xx John M. Keynes 19xx Karl Marx 18xx Neo Classic Marxism Keynesian
ต้นทุนค่าเสียโอกาส(Opportunity Cost) • คุณค่าหรือมูลค่าของทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายที่ต้องสละไปเมื่อมีการตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่งในการใช้ทรัพยากร • ค่าเสียโอกาสต่ำ : เลือกใช้ทรัพยากรได้เหมาะสม
เป้าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค เป้าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค 1.รักษาเสถียรภาพราคาสินค้า Price Stability 2.การจ้างงานในระคับสูง High Emplotment 3.การเจิญเติบโตทาง ศ.ก. Economics Growth 4. รักษาเสถียรภาพดุลการชำระเงินและ อ.แลกเปลี่ยน Stability in Balance of payment and Foreign Exchange 5.การกระจายรายได้ที่เท่าเทียม Equitable Distribution of income
วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. วิธีอนุมาน (Deductive Method) 2. วิธีอุปมาน (Inductive Method)
ปัจจัยการผลิต ผลตอบแทน1. แรงงาน ค่าจ้าง2. ที่ดิน ค่าเช่า 3. ทุน ดอกเบี้ย4. ผู้ประกอบการ กำไร
เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการมองภาพเศรษฐกิจจากพฤติกรรมผู้เกี่ยวข้องแต่ละราย อดัม สมิธ เขียนหนังสือ The Wealth of Nations ซึ่งถือว่าเป็นผู้วางรากฐานเศรษฐศาสตร์จุลภาค
เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินงานของเศรษฐกิจในภาพรวม จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ เขียนหนังสือชื่อ The General Theory of Employment Interest and Money (เป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์มหภาคเล่มแรก)
เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) เป็นการอธิบายให้เห็นสภาพการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ได้บ่งชี้ว่าดีหรือไม่ดีเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ทำนายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในนโยบายทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) เป็นการดูผลลัพธ์ของพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ และจะตั้งคำถามว่า ดีหรือไม่ดีทำให้ดีขึ้นได้หรือไม่ ข้อความเชิงนโยบายจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินคุณค่าว่าควรจะเป็นอย่างไร
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1. จะผลิตอะไร (What) 2. จะผลิตอย่างไร (How) 3. จะผลิตเพื่อใคร (For Whom)
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ วงจรเศรษฐกิจขั้นมูลฐาน รายได้ (จ่ายค่าเช่า คาแรงงาน ค่าดอกเบี้ย กำไร ) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน แรงงาน ทุน การประกอบการ) ธุรกิจ ครัวเรือน สินค้าและบริการ จ่ายค่าสินค้าและบริการ
ระบบเศรษฐกิจ โดยทั่วไประบบเศรษฐกิจแบ่งออกเป็น 3 ระบบ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี หรือระบบเศรษฐกิจแบบทุน นิยม มีลักษณะสำคัญ - กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน - เสรีภาพในธุรกิจ - กำไรเป็นตัวจูงใจให้เกิดการผลิต - ราคาถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทาน - เอกชนเป็นผู้กำหนดนโยบายทางธุรกิจ
2. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน - รัฐตัดสินใจในการทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจ - รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต - เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม - รัฐและเอกชนมีกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต และมีส่วนร่วมในการวางแผนเศรษฐกิจ - เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ - การจัดสรรทรัพยากรผ่านกลไกราคา แต่มีบทบาท น้อยกว่าระบบทุนนิยม
ทุนนิยม ข้อดี 1. การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพแรงจูงใจ คือ กำไร เลือกผลิตสินค้าที่คนต้องการ แข่งขันการผลิต ไม่สามารถหากำไรจากตั้งราคาแพง ปรับเทคนิคการผลิตให้ต้นทุนต่ำ 3.สิทธิเป็นเจ้าของปัจจัย พยายามใช้ปัจจัยไปในทางให้ตนมีรายได้มากที่สุดประเทศมีรายได้สูงขึ้นเศรษฐกิจเจริญเติบโตรวดเร็ว
ทุนนิยม • ข้อเสีย • การมีสิทธิในทรัพย์สินและสะสมทรัพย์สินทำให้ มุ่งหาประโยชน์โดยไม่คำนึงศีลธรรม&รับผิดชอบสังคม • อาจมีการแข่งขันแบบไม่เป็นธรรมบางกลุ่มแสวงหาประโยชน์ • ความเหลื่อมล้ำการกระจายรายได้
คอมมิวนิสต์ • ข้อดี • เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • หลักประกันว่าทุกคนมีงานทำ • รายได้เสมอภาค • ขจัดปัญหากอบโกยประโยชน์&การขาดคุณธรรม
คอมมิวนิสต์ • ข้อเสีย • ขาดแรงจูงใจ • ขาดประสิทธิภาพเศรษฐกิจเติบโตช้าๆ
วางแผน ทุนนิยม III ระบบเศรษฐกิจแบบผสม(Mixed Economy) • การแก้ปัญหาพื้นฐาน • กลไกราคาและการวางแผนจากส่วนกลาง แบบผสม
ความเป็นไปได้ในการผลิตความเป็นไปได้ในการผลิต ตารางแสดงแผนการผลิตสินค้า 2 ชนิด โดยใช้ปัจจัยการผลิตชนิดเดียวกัน
สินค้า y A 5 E เส้น PPC F สินค้า x 0 5 เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต
ประโยชน์ของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ประโยชน์ของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1. ต่อผู้บริโภค 2. ต่อกลุ่มผู้ประกอบอาชีพ 3. ต่อกลุ่มผู้บริหาร
เครื่องมือที่ใช้ประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เครื่องมือที่ใช้ประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ฟังก์ชั่น (Function) หมายถึงความสัมพันธ์ ของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ เช่น Y = f (x)
5 4 3 2 1 X -1 -2 -3 -4 -5 Y 2.กราฟ A (2,3) -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 จุดกำเนิด B (-3, -4)
โดยปกติเส้นกราฟจะเขียนได้จากตัวเลขที่มีความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว
Y Y2 = 20 ∆y Y1 = 15 ∆x X X2 = 1 X1 = 3 กราฟเส้นตรง
Y Y B C B y y x A A x X X 0 0 ความชันของเส้นตรงมีค่า เท่ากันตลอดเส้น ความชันของเส้นโค้งมีค่า ไม่เท่ากันตลอดเส้น
จำนวนผลผลิต ต้นทุนการผลิต B ค่าสูงสุดความชัน = 0 AC A จำนวนแรงงาน จำนวนผลผลิต 0 0 L Q ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด (Minimum and Maximum Value) เป็นค่าที่นิยมมาใช้วิเคราะห์กำไรสูงสุดหรือต้นทุนต่ำสุด รูปแสดงต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุดและเส้นผลผลิตสูงสุด
วัฏจักรเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
วัฏจักรเศรษฐกิจ ช่วงเป็นความผันผวนของผลิตภัณฑ์ในประเทศที่ แท้จริง ที่มีอัตราการขยายตัวผันแปรไปจากอัตราการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพในระยะยาวแบ่งออกเป็น 4 ช่วง • ช่วงขยายตัวหรือฟื้นตัว (expansion or recovery) • ช่วงรุ่งเรือง (prosperity) • ช่วงหดตัวหรือถดถอย (contraction or recession) • ช่วงตกต่ำ (depression)
Y IP ว่างงานต่ำ Iว่างงานลดลง Iว่างงานสูงขึ้น IP ว่างงานสูง time วัฎจักรเศรษฐกิจ(Business cycles) รุ่งเรือง รุ่งเรือง หดตัว ฟื้นตัว หดตัว ตกต่ำ ตกต่ำ
เงินเฟ้อ(Inflation) • ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย • ตัวชื้วัด ดัชนีราคา ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้าโดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น
ดัชนีราคา ราคาค่าเฉลี่ยของสินค้าและบริการของปีใดปีหนึ่ง เปรียบเทียบกับราคาเฉลี่ยของสินค้าและบริการเดียวกันนั้นในปีที่อ้างอิง หรือที่เรียกว่าปีฐาน • ปีฐานนั้น ปีนั้นจะต้องเป็นปีที่มีภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างเป็นปกติ ไม่เกิดภาวะเงินเฟ้อหรือมีการว่างงานสูง ไม่เกิดภาวะสงครามหรือเกิดภัยพิบัติอย่างรุนแรง
ดัชนีราคาที่สำคัญ ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดระดับราคาโดยเฉลี่ยของสินค้าและบริการเพื่อการบริโภค ณ ตลาดและร้านค้าปลีก ในปีใดปีหนึ่ง เทียบกับราคาในปีฐานซึ่งเท่ากับ 100
ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI)
สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อสาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation)
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้นอุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น • การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินในระบบ
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) GDP = C + I + G + (X – M)
ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่ม • ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพิ่ม • ค่าใช้จ่ายในภาครัฐเพิ่ม • รายได้จากการค้าระหว่างประเทศเพิ่ม
1. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ
P P3 P2 P1 AD3 AD2 0 Q AD1 AS = Aggregate Supply AD = Aggregate Demand AS
2. ปริมาณเงินเพิ่ม • ธนาคารกลางธนบัตรเพิ่ม • ธนาคารพาณิชย์ขยายสินเชื่อเพิ่ม • รัฐบาลดำเนินนโยบายงบประมาณ ขาดดุล • รัฐนำเงินคงคลังออกมาใช้
ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ 2.การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม • อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด
P P3 P1 P2 AD 0 Q AS3 AS2 AS1
สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นสาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น • การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า(Wage - Push Inflation) • การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและวัตถุดิบต่างๆ • การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต(Profit - Push Inflation)
ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ เราอาจแบ่งภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นได้ 3 ขนาด คือ 1. ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild Inflation) ที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นประมาณร้อยละ 1-5 ต่อปี จัดว่าเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ 2. ภาวะเงินเฟ้ออย่างปานกลาง (Moderate Inflation) ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นร้อยละ 5 -20 ต่อปี 3. ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง (Hyper Inflation) ระดับ ราคาสินค้าสูงขึ้นเกินกว่าร้อยละ 20 ต่อปี นำไปสู่ความความชะงักงันหรือหายนะทางเศรษฐกิจ