270 likes | 538 Views
ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย. 8 กันยายน 2549. โดย. นางสาวกัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล กลุ่มวิจัยการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ ( P-PROF) สังกัดสายวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ. รายงานการวิจัย. วิทยานิพนธ์. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย.
E N D
ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย 8 กันยายน 2549 โดย นางสาวกัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล กลุ่มวิจัยการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ (P-PROF) สังกัดสายวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ
รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย
องค์ประกอบของรายงานวิจัยองค์ประกอบของรายงานวิจัย
บทคัดย่อ • ศึกษาอะไร • ตรวจสอบสมบัติอะไร • ผลที่ได้โดยสรุป • บทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อ • ที่มาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ของงาน • ศึกษาอะไร • ผลการศึกษาโดยสรุปอย่างย่อ
บทคัดยอ วิทยานิพนธ์นี้ไดทําการศึกษาอิทธิพลของปริมาณขี้เลื่อย ปริมาณความชื้นในผงขี้เลื่อยกอนการผสมและการปรับปรุงผิวขี้เลื่อยดวยสารอะมิโนไซเลนที่มีต่อสมบัติดานการผสม สมบัติทางกล และความรอนของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อยจากการศึกษาผลของปริมาณขี้เลื่อย พบวา ปริมาณขี้เลื่อยในชวง 0.0-23.1 % โดยนํ้าหนัก ไมมีผลกระทบตอคาเฉลี่ยแรงบิดและความดันตกครอม ณ บริเวณทางเขาดายปริมาณขี้เลื่อยที่มากขึ้นมีผลทําใหชิ้นงานมีอัตราการบวมตัวลดลง สวนสมบัติทางกลมีแนวโนมลดลง ในช่วงที่มีปริมาณขี้เลื่อย 0.0-16.7 % แตเมื่อปริมาณขี้เลื่อยมากกวา 16.7 % พบวา สมบัติทางกลมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลงมากนัก นอกจากนี้ปริมาณขี้เลื่อยที่เพิ่มขึ้นยังมีผลทําใหคาอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะคลายแกวมีคาเพิ่มสูงขึ้นแต่มีผลทําใหวัสดุผสมมีเสถียรภาพทางความรอนลดลง......................... คําสําคัญ : พีวีซี/ขี้เลื่อย/วัสดุผสม/ความชื้น/สารคูควบ
บทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อบทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อ โครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการวิจัยที่ทำร่วมกันระหว่าง หจก.เจริญมิตร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จุดเริ่มต้นของโครงการวิจัยเกิดขึ้นจากในอดีตที่ผ่านมา หจก.เจริญมิตร ได้ผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งโดยใช้พอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลผสมกับพอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ในสัดส่วนที่สูงถึง 50% โดยน้ำหนัก ทำให้บริษัทฯ ต้องเผชิญปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของพอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลที่ซื้อมาในแต่ละครั้งมีสมบัติที่ไม่สม่ำเสมอ ณ ปัจจุบัน จัดหาได้ยากขึ้น และมีราคาสูง ดังนั้นทางคณะวิจัย และหจก.เจริญมิตรจึงเกิดแนวคิดพัฒนาสูตรการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้ง โดยการใช้สารอนินทรีย์ที่มีราคาต้นทุนต่ำ และมีสมบัติทางกลที่ดีทดแทนการใช้พอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อออกแบบสูตรวัสดุผสมที่เหมาะสม สำหรับการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งต้นทุนต่ำด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยงซึ่งโครงการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงชนิดและปริมาณของสารตัวเติมประเภทอนินทรีย์ที่เหมาะสม ได้แก่ เถ้าลอย และแคลเซียมคาร์บอเนต ที่นำมาผสมกับพอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ซึ่งเป็นวัสดุหลักในการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้ง จากผลการวิจัยในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา พบว่า สูตรวัสดุผสมที่มีเถ้าลอยเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมในการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งต้นทุนต่ำด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยง คือ พอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ 70% เถ้าลอย 20% และพอลิเมอร์เกรดรีไซเคิล 10% โดยน้ำหนัก และสูตรวัสดุผสมที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น คือ พอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ 70% เถ้าลอย 20% และแคลเซียมคาร์บอเนต 10% โดยน้ำหนัก โดยแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้ต้องอยู่ในรูปแบบคอมปาวด์ และเมื่อวิเคราะห์ผลเชิงเศรษฐศาสตร์ พบว่า สูตรวัสดุผสมที่มีเถ้าลอยเป็นองค์ประกอบ และวัสดุผสมที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น สามารถลดต้นทุนได้ถึง 7.9 % และ 10.5 % ตามลำดับ
บทนำ • ความเป็นมาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ขอบเขตที่ศึกษา • แบบสรุปโครงการวิจัย • สัญญาเลขที่ • ชื่อโครงการ • หัวหน้าโครงการ • ความเป็นมาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ • เปรียบเทียบแผนงานที่เสนอในข้อเสนอโครงการ กับกิจกรรมที่ทำจริง
ตารางที่ 1 แผนงานเปรียบเทียบระหว่างแผนการดำเนินงานและผลการดำเนินงานที่ได้ทำจริง
ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง [คำสำคัญ (Key word) +สมบัติที่ต้องการศึกษา] • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [คำสำคัญ (Key word), อ้างอิงตามผลและ • การวิเคราะห์ผลและย้อนหลังไม่ควรเกิน 5 ปี]
การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์ • สมบัติที่ทำการศึกษา • สมบัติการต้านทานแรงดึง • สมบัติการต้านทานแรงกระแทก • สมบัติการต้านทานการดัดตัว • การหดตัว ขยายตัวและโก่งตัวภายหลังการผลิต • การต้านทานการแตกเนื่องจากการตอกตะปู • โครงสร้างทางจุลภาค (การยึดเกาะระหว่างคู่วัสดุ) • Key word • พีวีซี • ผงขี้เลื่อยไม้ • เส้นใยสังเคราะห์ • วัสดุผสม • สมบัติทางกลเชิงโครงสร้าง +
Maldas, D. และ Kokta, B.V.(2001) [1] ไดทําการศึกษาผลของการทําแผน ปารติเคิลที่ใชพีวีซีพอลิสไตรีนหรือพอลิสไตรีน เกรดทนแรงกระแทกสูง (HIPS) เปนตัวประสาน (binder) กับเสนใยธรรมชาติชนิดตางๆ ทั้งกรณีที่ปรับปรุงผิวดวย ไอโซไซยาเนต และไมไดปรับปรุงผิว พบวา สมบัติทางกลมีคาเพิ่มมากขึ้น เมื่อปริมาณของพอลิเมอรที่ทําหนาที่เปนตัวประสานเพิ่มมากขึ้น และกรณีการใช้เสนใยที่ผานการปรับปรุงผิวดวยไอโซไซยาเนตให้ผลเช่นเดียวกับกรณีการเพิ่มปริมาณตัวประสาน และพบวาการใชพีวีซีเปนตัวประสานมีผลทําใหไดแผนปารติเคิลที่มีสมบัติทางกลที่ดีที่สุด Karmaker, A.C. และคณะ(2003) [2] ............................................ Matuana, L.M.(2003) [3]............................................ Matuana, L.M. และคณะ(2005) [4] ............................................ Stark, N.M. และคณะ(2003) [5] ............................................
การออกแบบและวิธีการทดลองการออกแบบและวิธีการทดลอง • วัตถุดิบที่ใช้ในงานวิจัย • พีวีซีที่ใชในงานวิจัยนี้เปนพีวีซีในเกรดอัดรีด และมี คา K value = 58 ของบริษัท Vinythai จํากัด โดยทําการสังเคราะหจากกระบวนการสารแขวนลอย พีวีซีรวมถึงสารเติมแตงตางๆ ที่ใชในสูตรของพีวีซีคอมปาวดไดรับความอนุเคราะหจากบริษัท วีพี. พลาสติก โปรดักท (1993) จํากัด ตัวอยางของพีวีซีคอมปาวดที่ใชเปนดังแสดงในรูปที่ 3.1 • แผนการดำเนินการวิจัย • วิธีการทดลอง
วิธีการทดลอง -เครื่องมือที่ใช้ เครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู รุน HAKKE PolyLabRheomex CTW 100p ของบริษัท HAAKE Co.Ltd. (Germany) - มาตรฐานที่ใช้ในการทดสอบ ตามมาตรฐาน ASTM D638(1999) [36] - รูป และตาราง
รูปที่ 1 ชุดระบบควบคุมขนาดและระบบหล่อเย็น
ตารางที่ 1สูตรของพีวีซีคอมปาวดและปริมาณขี้เลื่อยที่มีในสูตรของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อย
ผลและการวิเคราะห์ผล • รูป และตาราง • คำอธิบายผลที่เกิดขึ้น
Figure 1 Effect of silica content in fly ash on tensile strength at various Si69 contentration for 50:50 NR/SBR blend : ( ) before and ( ) after aging
(a) (b) (c) Figure 2 SEM fracture surfaces of silica in fly ash for NR/SBR blend (a) without silane coupling agent (b) with Si69 2%wt fly ash (c) with Si69 6%wt fly ash
Figure 3 Variations in the minimum and maximum torque with silica content for NR vulcanizates filled with PSi and FASi particles
รูปที่ 1 ผลของการเติมสารหน่วงไฟที่มีต่อค่ามอดุลัสความต้านทานแรงดึง ของพีวีซีคอมปาวด์
ตารางที่ 2คาความแข็งของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อยที่มีปริมาณขี้เลื่อยตางๆ กัน
คำอธิบายผล มี 3 ลักษณะ • การนำผลการตรวจสอบอื่น มาประกอบคำอธิบายผลที่ได้ • การนำงานวิจัยของบุคคลอื่นมาสนับสนุนผลที่เกิดขึ้น • การอธิบายผลโดยใช้ทฤษฏี
สรุปผลการทดลอง • บอกรายละเอียดเกี่ยวกับเมื่อตัวแปรต้นเปลี่ยนแปลง ส่งผลทำให้สมบัติที่ทำการศึกษาเป็นอย่างไร ไม่ต้องใส่เหตุผล • กรณีผลสรุปมีหลายประเด็น ควรสรุปเป็นข้อๆ
สรุปผลการทดลอง จากการศึกษายางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ที่เติมซิลิกาที่มีในเถ้าลอย และปรับปรุงผิวเถ้าลอยด้วยสารคู่ควบไซเลนปริมาณความเข้มข้นต่างๆ สรุปผลได้ดังนี้ 1. สัดส่วนของยางธรรมชาติ 50 ส่วน ในยางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ 100 ส่วน ให้สมบัติเชิงกลโดยรวมเหมาะสมที่สุด 2. สมบัติของยางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ที่เติมซิลิกาที่มีในเถ้าลอย เป็นสารเติมแต่ง ก่อนการบ่มเร่งสภาวะด้วยความร้อน พบว่า เมื่อปริมาณซิลิกาที่มีในเถ้าลอยเพิ่มขึ้น เวลาในการคงรูปของยางผสมมีแนวโน้มลดลง ส่วนสมบัติเชิงกลด้านมอดุลัสแรงดึง ความแข็ง ความต้านแรงฉีกขาด เปอร์เซ็นต์การยุบตัวถาวรเมื่อได้รับแรงอัดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่เปอร์เซ็นต์การยืดตัว ณ จุดขาด การต้านต่อการขัดถู เปอร์เซ็นต์การกระดอน และความต้านแรงดึงมีแนวโน้มลดลง โดยมีค่าสูงสุดที่ปริมาณซิลิกาในเถ้าลอย 20 phr 3. ..................................................................... 4. .....................................................................
เอกสารอ้างอิง • เรียงลำดับตามหมายเลข • เรียงลำดับตามตัวอักษร
เอกสารอ้างอิง • Kawase R., 1998, “Molecular and Micro Structure of Thermal Sprayed Heat and Corrosion - Resistant Plastic Coatings”, Proceedings of the 15th International Thermal Spray Conference, 25-29 May 1998, Nice, France, pp. 653-657. • Wang, C., Ma, J. and Cheng, W., 2003, “Formation of Polyetheretherketone Polymer Coating by Electrphoretic Deposition Method”, Surface and Coating Technology, Vol. 173, pp. 271-275. • Davis, J.R., 2004, Handbook of Thermal Spray Technology, ASM International, Materials Park, Ohio, USA, pp. 6. • ทิพบรรณ สุดประเสริฐ, 2538, อิทธิพลของพารามิเตอร์การพ่นต่อโครงสร้างและคุณสมบัติของงานพ่นเคลือบด้วยเปลวเพลิง, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี