180 likes | 806 Views
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินภายใน. สรุปผลการดำเนินงาน สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ณ ห้องประชุม ROC ชั้น 3 อาคารศูนย์วิชาการ วันที่ 24 สิงหาคม 2550. สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วัตถุประสงค์ของสถาบันฯ.
E N D
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินภายใน สรุปผลการดำเนินงาน สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ ห้องประชุม ROC ชั้น 3 อาคารศูนย์วิชาการ วันที่ 24 สิงหาคม 2550
สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วัตถุประสงค์ของสถาบันฯ • เป็นหน่วยงานประสานงานกลางระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น และสถาบันอุดมศึกษาเครือข่ายกับสำนักงาน ก.พ.ร. กระทรวงมหาดไทย และจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อการวางแผน กำหนดกลยุทธ์ และกิจกรรมการดำเนินงานในการสนับสนุนการพัฒนาระบบราชการ • เป็นหน่วยงานประสานงานกลางภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่นตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่จะดำเนินการตามข้อ 1 • เป็นหน่วยสนับสนุน ติดตาม ประเมินผลและแก้ปัญหาในการบริหารจัดการจังหวัดแบบบูรณาการและหน่วยงานอื่นๆ • เป็นแหล่งข้อมูล/ความรู้ ในเรื่องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการและการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ • เป็นหน่วยเลขานุการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • อื่นๆ ตามข้อตกลงระหวางมหาวิทยาลัยขอนแก่นกับสำนักงาน ก.พ.ร. กระทรวงมหาดไทย และจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แผนปฏิบัติราชการแผ่นดินแผนปฏิบัติราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 ยุทธศาสตร์ของศูนย์ปฏิบัติการร่วม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบันการศึกษาเครือข่าย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ส่วนท้องถิ่น สำนักวิจัยและพัฒนาศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ (15 ศูนย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของราชการส่วนกลาง ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด/จังหวัด กระทรวงการต่างประเทศ คณะวิชา กระทรวงมหาดไทย กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (ก.พ.ร.) สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ROC) วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนรูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างเอกอัครราชทูตไทยในประเทศเพื่อนบ้านกับผู้ว่าราชการจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในการผลักดันยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่อประเทศเพื่อนบ้านตามนโยบายและทิศทางการพัฒนาประเทศเพื่อให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง • พันธกิจ • ประสานและเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาในกลุ่มจังหวัดและการบริหารราชการแบบบูรณาการระหว่างจังหวัด ภายในกลุ่มจังหวัด/ระหว่างกลุ่มจังหวัด/หน่วยงานในต่างประเทศและระหว่างส่วนราชการ • เป็นศูนย์กลางการประสานงาน ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า และการต่างประเทศ เพื่อเชื่อมโยงการทำงานระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ และเอกอัครราชทูตแบบบูรณาการ • ติดต่อ ประสานงาน สนับสนุน ช่วยเหลือการเจรจา การวิเทศสัมพันธ์ การดำเนินกิจกรรมความร่วมมือและความช่วยเหลือกับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มจังหวัดกับประเทศเพื่อนบ้าน • ประสานและสนับสนุนเพื่อการบูรณาการงบประมาณของกระทรวงกับงบประมาณของกลุ่มจังหวัด • พัฒนาระบบการบริหารกลุ่มจังหวัด/ระหว่างกลุ่มจังหวัด • การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกลุ่มจังหวัด เพื่อสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
ลักษณะการทำงานร่วมกันของลักษณะการทำงานร่วมกันของ ROC • ปลัด มท. • ปลัด กต. • ปลัด สร. หรือ หัวหน้าผู้ตรวจ สร. • เลขา สศช. • ผอ.สงป. • เลขา ก.พ.ร. Advisory Board ผวจ. CEO กระทรวงมหาดไทย ผวจ. CEO ผวจ. CEO รอง ผวจ. (CCO) กลุ่มจังหวัดละ 1 คน staff ก.พ.ร. ROC ภาคอีสาน มท. สงป. เอกชน/ประชาสังคม หน่วยงานกลาง กต. สศช. สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงการต่างประเทศ
EWEC: East West Economic Corridor โครงสร้างการบริหารงานของ ROC องค์ประกอบ- รอง นรม. / รมต. ที่เกี่ยวข้อง- ออท. / ผวจ. CEO ที่เกี่ยวข้อง - ภาคเอกชน / ภาควิชาการที่เกี่ยวข้อง - ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ / หน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้อง การประชุม ออท./ผวจ. CEO ปีละ 1 ครั้ง Advisory Board องค์ประกอบคณะกรรมการบริหาร ROC - ประธาน ROC (วาระอาจจะคงไว้ 1 ปีตามเดิม) - ผวจ. ที่เป็นตัวแทนของกลุ่มจังหวัด 5 กลุ่ม - ผู้แทน ม.ขอนแก่น (เลขานุการ) - ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (ส่วนกลาง) - ผู้แทน สนง. ก.พ.ร. - ผู้แทน กต.คณะทำงาน ROC - หัวหน้าคณะทำงาน ROC - ผู้แทน มท., กต. - ม.ขอนแก่น ในฐานะ เลขานุการ ROC - เจ้าหน้าที่ประสานงาน ROC ROC องค์ประกอบ - ปลัดกระทรวงมหาดไทย - ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือ หัวหน้าผู้ตรวจสำนักนายกรัฐมนตรี - เลขาธิการ สศช. - ผอ. สงป. - เลขาธิการ ก.พ.ร. ACMECS: Ayeyawady – Chao Phraya – Mekong Economic CooperationStrategy
งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากมหาวิทยาลัย 500,000 บาท ดำเนินการใช้ภายในสถาบันไปทั้งสิ้น 280,000 บาท คงเหลือ 220,000 บาท งบประมาณที่ได้รับจากการดำเนินโครงการจำนวน 10 โครงการ (รายละเอียดอยู่ในเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน) งบประมาณภายนอกที่ได้รับจัดสรร 10,150,000 บาท แยกประเภททุนอุดหนุน ได้แก่ * สำนักงาน ก.พ.ร. 2,550,000 บาท * สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3,600,000 บาท * กระทรวงการต่างประเทศ 4,000,000 บาท ขณะนี้กำลังดำเนินการอยู่คือ โครงการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ – ใต้ แนวตะวันออก – ตะวันตก และแนวตอนใต้ สรุปผลการดำเนินงานของสถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ขอบพระคุณทุกท่าน สนใจดาวน์โหลดข้อมูลและติดตามข่าวสารได้ที่ http://www.nedsi.kku.ac.th nesi@kku.ac.th