330 likes | 560 Views
การพัฒนางานสุขศึกษามาตรฐานงานสุขศึกษา ตามมาตรฐานงานสุขศึกษา. โดย นางเพ็ญศรี เกิดนาค นักวิชาการสาธารณสุข 8 กองสุขศึกษา. ปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุข. ปัจจัยกำหนดปัญหาสาธารณสุข. ปัจจัยด้านพันธุกรรม/ชีวภาพ. ปัญหาสุขภาพ และ ปัญหาสาธารณสุข. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ).
E N D
การพัฒนางานสุขศึกษามาตรฐานงานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษาการพัฒนางานสุขศึกษามาตรฐานงานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษา โดย นางเพ็ญศรี เกิดนาค นักวิชาการสาธารณสุข 8กองสุขศึกษา
ปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุขปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุข
ปัจจัยกำหนดปัญหาสาธารณสุขปัจจัยกำหนดปัญหาสาธารณสุข ปัจจัยด้านพันธุกรรม/ชีวภาพ ปัญหาสุขภาพ และ ปัญหาสาธารณสุข ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ) ปัจจัยด้านระบบ บริการสุขภาพ ป่วย ตาย ปัจจัยด้านพฤติกรรม พิการ สภาวะเสี่ยง
การดำเนินงานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในงานสาธารณสุขการดำเนินงานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในงานสาธารณสุข การปลูกฝัง พฤติกรรม สุขภาพ การดำเนินงาน พัฒนา พฤติกรรม สุขภาพ พฤติกรรม สุขภาพ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม สุขภาพ การพัฒนา สุขภาพ
สุขศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ เพื่อให้บุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และนำไปสู่ การมีสุขภาพดีของบุคคล กลุ่ม และชุมชน
สุขศึกษา การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
กระบวนการสุขศึกษาเพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพกระบวนการสุขศึกษาเพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มิใช่เป็นเพียงการสอนเท่านั้น แต่รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ การฝึกทักษะที่จำเป็น รวมทั้งการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมกระบวนการพัฒนาพฤติกรรม 1.การวิเคราะห์ปัญหา&ความต้องการพัฒนาพฤติกรรมฯ 2.การวิเคราะห์สาเหตุ ของพฤติกรรมฯ 5.การประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาพฤติกรรมฯ 3.การวางแผน พัฒนาพฤติกรรมฯ 4.การดำเนินงาน พัฒนาพฤติกรรมฯ
1. การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ • การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อระบุปัญหาสุขภาพ/ ความเสี่ยงด้านสุขภาพของชุมชน/ครอบครัว/บุคคล • การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา • การเลือกปัญหาที่สำคัญ เร่งด่วน มาแก้ไข • การระบุพฤติกรรมสำคัญที่เป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพ (พฤติกรรมอะไร ของใคร)
2. การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม ปัญหาสาธารณสุข สาเหตุด้านพฤติกรรม สาเหตุอื่น ๆ ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม
2. การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม ปัญหาสาธารณสุข สาเหตุด้านพฤติกรรม สาเหตุอื่น ๆ ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม
ปัจจัยนำ ปัจจัยภายในบุคคล ที่จูงใจให้บุคคลมีแนวโน้ม ที่จะปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ • ความรู้ • ทัศนคติ • ความเชื่อ/การรับรู้ • ค่านิยม • ความตั้งใจ ปรับเปลี่ยนด้วยการจัดการเรียนรู้
ปัจจัยเอื้อ สิ่งที่จำเป็นต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนโดยพัฒนาทักษะ ที่จำเป็น และ การจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรม • ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติ • การมี การเข้าถึง การยอมรับ วัสดุ อุปกรณ์ บริการ กิจกรรมเพื่อสุขภาพ
ปัจจัยเสริม ปัจจัยแวดล้อมภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับ คำชมเชย ความสนใจ การยอมรับ เห็นพ้อง ติเตียน ลงโทษ จากบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ปรับเปลี่ยนโดยจัดการเรียนรู้ ให้บุคคลรอบข้าง ให้สนับสนุนและช่วยจัดปัจจัย แวดล้อมที่เอื้อ ต่อพฤติกรรม
3. การวางแผนการพัฒนาพฤติกรรม • การวิเคราะห์ว่า การแก้ไขปัจจัยสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัญหา ต้องอาศัยการเรียนรู้/ปรับสิ่งที่จำเป็นอะไร • การออกแบบว่า จะจัดกิจกรรมสุขศึกษากับใคร อย่างไร ความถี่ ความต่อเนื่อง ความสอดคล้องกับกิจกรรมบริการสุขภาพหรือการพัฒนาสุขภาพด้านอื่นๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพ ในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
กลวิธี/วิธีการทางสุขศึกษากลวิธี/วิธีการทางสุขศึกษา • การสอน • จัดกลุ่มเรียนรู้ • การสาธิต ฝึกปฏิบัติ • เกมการเรียนรู้ • การใช้ตัวแบบ • การมีส่วนร่วม • กรณีศึกษา • การใช้สื่อ • บทบาทสมมติ • นิทรรศการ รณรงค์
4. การดำเนินงานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ รูปแบบ การจัดการ ผลลัพธ์ • ครอบคลุม • ต่อเนื่อง/ยั่งยืน • เป็นระบบ • มีมาตรฐาน • มีการบูรณาการ ประสิทธิภาพ พฤติกรรม สุขภาพ
5. การประเมินผลงานพัฒนาพฤติกรรม การวัดและให้ค่าของผลการดำเนินงานสุขศึกษา ว่าเป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่ มากน้อยเพียงใด โดย นำวัตถุประสงค์มากำหนดเป็นตัวชี้วัด และระบุวิธีการวัด
กระบวนการวางแผนบริหารจัดการ VS. ตัวชี้วัดในงานสุขศึกษา อัตราป่วย อัตราตาย อัตราภาวะแทรกซ้อน ปัญหาสาธารณสุข ตัวชี้วัดผลกระทบ ตัวชี้วัดพฤติกรรม ร้อยละของพฤติกรรม พฤติกรรมที่เป็นสาเหตุของปัญหา ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อ ความตั้งใจ ทักษะ ตัวชี้วัดปัจจัยพฤติกรรม ปัจจัยสาเหตุของพฤติกรรม จำนวนคน/กลุ่ม/ครั้ง ที่เข้าร่วมกิจกรรม/จัดกิจกรรม รูปแบบกิจกรรม ตัวชี้วัด output/การจัดกิจกรรม กิจกรรมสุขศึกษา ปัจจัยนำเข้า เงิน สื่อ คนที่ใช้ ในการจัดกิจกรรม ตัวชี้วัด input/ปัจจัยนำเข้า
ทำไมต้องพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาทำไมต้องพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา 1. รัฐธรรมนูญ มาตรา 52 และ 82 2. การปฏิรูประบบราชการ ทำงานให้มีคุณภาพ 3. หลักประกันสุขภาพ งบประมาณ 4. นโยบายกระทรวงฯ สร้าง นำ ซ่อม
มาตรฐานงานสุขศึกษาคืออะไรมาตรฐานงานสุขศึกษาคืออะไร 1. แนวทางการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา และวัดความสำเร็จการดำเนินงาน 2. มี 20 ดัชนีชี้วัด 66 สำหรับ ศสช./สอ 75 สำหรับรพศ./รพท./รพช.
การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษาการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา ใช้หลักการ 1. การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งใน และนอกสถานบริการ 3. ใช้ประชาชนเป็นศูนย์กลางพัฒนา 4. การใช้แนวคิดทฤษฏีทางพฤติกรรมศาสตร์ การเรียนรู้ และทางสังคมศาสตร์
องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา 1. นโยบายการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 2. ทรัพยากรด้านสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 3. ระบบข้อมูล 4. แผนกาดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา 5. การจัดกิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ 6. การนิเทศการดำเนินงานสุขศึกษา 7. การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา 8. การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 9. การวิจัยด้านสุขศึกษา
ใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไรใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไร การเตรียมการ 1. ศึกษาการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา 2. จัดตั้งทีมงาน 3. ประเมินและวิเคราะห์การดำเนินงาน สุขศึกษาของสถานบริการ
ใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไรใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไร การดำเนินการพัฒนา 1. การวางแผน 2. การดำเนินการพัฒนา P D C A 3. การประเมินผล 4. การปรับปรุงและพัฒนาต่อเนื่อง
ใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไรใช้มาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างไร การประเมินรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา 1. คณะกรรมการระดับจังหวัด ตรวจสอบ ประเมิน 2. คณะอนุกรรมการตรวจสอบ ประเมินในพื้นที่ 3. คณะกรรมการประเมินรับรอง
พัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไรพัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไร ประชาชน 1. ได้รับการจัดการเรียนรู้และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ที่ได้มาตรฐาน 2. มีความพึงพอใจต่อบริการสุขศึกษาของสถานบริการ 3. มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4. ไม่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ไม่เสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน ไม่ตายก่อนสมควร 5. ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
พัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไรพัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไร เจ้าหน้าที่ 1. มีความรู้ ความเข้าใจการดำเนินงานสุขศึกษาที่ถูกต้อง 2. มีการดำเนินงานสุขศึกษาอย่างเป็นระบบ 3. มีทักษะในการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา ตามมาตรฐานงานสุขศึกษา 4. มีนวัตกรรม /Best Practice/ ผลงานเด่น 5. ลดภาระงาน
พัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไรพัฒนางานสุขศึกษาแล้วได้อะไร สถานบริการ 1. มีระบบบริการสุขศึกษาที่ได้มาตรฐาน 2. ผู้รับบริการพึงพอใจต่อบริการสุขศึกษาของสถานบริการ 3. ผู้ป่วยไม่แน่น 4. ค่าใช้จ่ายลดลง 5. สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพอื่นๆ ของสถานบริการ
ปัจจัยที่ทำให้การพัฒนางานสุขศึกษาประสบผลสำเร็จปัจจัยที่ทำให้การพัฒนางานสุขศึกษาประสบผลสำเร็จ 1. เจ้าหน้าที่ทุกคนมีความ ” มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาคุณภาพบริการ 2. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และทักษะเพียงพอในการดำเนินงาน 3. ชุมชน “เข้มแข็งและมีส่วนร่วม “ในการดำเนินงาน 4. มี”ภูมิปัญญา “ของท้องถิ่นและทุนทางสังคม 5. “นโยบาย”ทุกระดับที่เอื้อต่อการดำเนินงาน
สวัสดี 0-9897-3607 , 0-2590 1616 WWW.Pensris @ hss.moph.go.th