1 / 24

พืชน้ำมัน

พืชน้ำมัน. ชนิดพืชน้ำมัน ถั่วเหลือง [ Glycine max   (L.) Merr. ] ถั่วลิสง ( Arachis hypogaea L.) ทานตะวัน ( Helianthus a nnus L. ) ปาล์มน้ำมัน ( Elaeis guineensis   Jacq .) งา ( Sesamum indicum  L.) ละหุ่ง ( Ricinus communis   L .) มะพร้าว ( Cocos nucifera L.). ความสำคัญของพืชน้ำมัน.

necia
Download Presentation

พืชน้ำมัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พืชน้ำมัน ชนิดพืชน้ำมัน • ถั่วเหลือง [Glycine max  (L.) Merr.] • ถั่วลิสง (Arachis hypogaeaL.) • ทานตะวัน (Helianthus annus L.) • ปาล์มน้ำมัน (Elaeis guineensis  Jacq.) • งา (Sesamum indicum  L.) • ละหุ่ง (Ricinus communis  L.) • มะพร้าว (Cocos nuciferaL.)

  2. ความสำคัญของพืชน้ำมันความสำคัญของพืชน้ำมัน • แหล่งอาหารมนุษย์และสัตว์ประเภทไขมันและโปรตีน • อุตสาหกรรมอาหาร น้ำมันเครื่อง เครื่องขัดเงา • พืชน้ำมันบางชนิดช่วยปรับปรุงดิน • ถั่วเหลือง มีแบคทีเรียกลุ่ม japonicumtype (Bradyrhizobium japonicum) ถั่วลิสง มีแบคทีเรียกลุ่ม cowpea type (Bradyrhizobium sp) อยู่อาศัยแบบ symbiosis โดยการสร้างปมที่ราก (แบคทีเรียได้รับคาร์โบไฮเดรตจากต้นถั่วเหลือง ส่วนถั่วเหลืองได้ไนโตรเจนในรูปไนเตรทที่แบคทีเรียตรึงได้จากอากาศไปใช้ประโยชน์ การอยู่อาศัยของแบคทีเรียที่รากเรียกว่าแบบชีวสัมพันธ์ (symbiosis) หรือพึ่งพาอาศัยกัน)

  3. ความสัมพันธ์ของไรโซเบี้ยมกับพืชตระกูลถั่วความสัมพันธ์ของไรโซเบี้ยมกับพืชตระกูลถั่ว • nitrogen fixing bacteria

  4. ถั่วเหลือง Glycine max  (L.) Merr. • วงศ์ : Leguminosae(Fabaceae)-Papilionodeae • ชื่อสามัญ : Soybean • ชื่ออื่น : ถั่วพระเหลือง, ถั่วแระ (ภาคกลาง), มะถั่วเน่า (ภาคเหนือ) • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญพืชหนึ่งของประเทศ • เมล็ดมีโปรตีนและน้ำมันประมาณ 40 และ 20% ตามลำดับ • ใช้ประโยชน์หลายรูปแบบ เช่น สกัดน้ำมัน ผลิตภัณฑ์อาหาร และอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ • พืชบำรุงดินที่สำคัญในระบบปลูกพืช

  5. ลักษณะทางการเกษตรของถั่วเหลืองลักษณะทางการเกษตรของถั่วเหลือง 1. ลำต้น (ทอดยอด/ไม่ทอดยอด) ความสูงลำต้น 2. ลักษณะใบกลมรี ใบหนาสีเขียวเข้ม ขนบนใบมีสีน้ำตาลอ่อน 3. อายุการออกดอก สีของดอก4. จำนวนฝักต่อต้น 6. อายุเก็บเกี่ยว 7. เมล็ดกลมผิวสีเหลืองมัน ตาค่อนข้างเล็กสีน้ำตาลอ่อน 8. น้ำหนัก 100 เมล็ด 9. เปอร์เซ็นต์น้ำมันและโปรตีน

  6. มาตรฐานคุณภาพเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศไทย สำหรับเกรดที่ใช้สกัดน้ำมัน • ความชื้นไม่เกิน 13 เปอร์เซ็นต์ • สิ่งเจือปนไม่เกิน 3 เปอร์เซ็นต์ • เมล็ดเสียไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ • เมล็ดแตกไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์

  7. ดัชนีเก็บเกี่ยว (Harvest Index: HI) • ดัชนีเก็บเกี่ยว = ผลผลิตเศรษฐกิจ (เมล็ด) ผลผลิตชีวภาพ (เมล็ด+ใบ+ต้น) • ผลผลิตเศรษฐกิจ (Economic yield)คือ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ เมล็ด ผล • ผลผลิตชีวภาพ (Biological yield) คือ ส่วนของมวลชีวภาพทั้งหมดที่อยู่เหนือดิน (ยกเว้นพืชหัว) ได้แก่ เมล็ด ใบ และต้น • ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต ประเมินจาก จำนวนฝักต่อต้น จำนวนเมล็ดต่อฝัก และน้ำหนัก 100 เมล็ด

  8. อะฟลาทอกซิน (AFLATOXIN) ในผลิตผลทางการเกษตร • อะฟลาทอกซิน (AFLATOXIN) คือสารพิษที่เกิดจากเชื้อรา 2 สายพันธุ์คือ • แอสเปอร์จิลลัส ฟลาวัส(Aspergillus flavus) • แอสเปอร์จิลลัส พาราซิติคัส(Aspergillus paraciticus) • สารพิษมีหลายชนิดแต่ชนิดที่สำคัญคือ Aflatoxin B1, B2, G1 และ G2 • ชนิด Aflatoxin B1 และ B2 มีคุณสมบัติเรืองแสงในช่วงสีน้ำเงิน • ส่วน Aflatoxin G1 และ G2 มีคุณสมบัติเรืองแสงในช่วงสีเขียว • Aflatoxin B1 มีความรุนแรงที่สุด รองลงมาคือ G1, B2 และ G2 ตามลำดับ • สารพิษทำอันตรายต่อเซลล์ตับ โดยมีไขมันสะสมมากที่ตับ ตับแข็ง ตับอักเสบ เลือดออกในตับ เซลล์ตับถูกทำลาย

  9. การกำหนดค่าความปลอดภัยการกำหนดค่าความปลอดภัย • กระทรวงสาธารณสุขกำหนดค่าความปลอดภัยให้มีอะฟลาทอกซินในอาหารไม่เกิน 20 พีพีบี • กระทรวงอุตสาหกรรม กำหนดมาตรฐานของเครื่องปรุงรส เช่น พริกป่น และน้ำมันถั่วลิสงสำหรับบริโภค ให้มีปริมาณ Aflatoxin ได้ไม่เกิน 20 ไมโครกรัมต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม • กระทรวงสาธารณสุขของสหรัฐฯ กำหนดให้มีได้ไม่เกิน 15 ไมโครกรัมต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม

  10. ระบบและมาตรฐานการผลิตพืชระบบและมาตรฐานการผลิตพืช International Federation of Organic Agriculture Movements (IFOAM) http://www.ifoam.org International Organic Accreditation Service (IOAS) http://www.ioas.org สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) http://www.acfs.go.th Conseil des Appellations Agroalimentaires du Qu bec (CAAQ) http://www.caaq.org สหกรณ์กรีนเนท จำกัด http://www.greennet.or.th โครงการสมุนไพรเกษตรอินทรีย์ มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร http://www.abhaibhubejhr.org

  11. เกษตรอินทรีย์ • คำนิยามของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movementsหรือ IFOAM) • ระบบการเกษตรที่ผลิตอาหารและเส้นใยด้วยความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ • เน้นหลักการปรับปรุงบำรุงดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และระบบนิเวศเกษตร • ลดการใช้ปัจจัยการผลิตจากภายนอก และหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืช และเวชภัณฑ์สำหรับสัตว์ • ประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิต และพัฒนาความต้านทานต่อโรคพืช และสัตว์ • หลักการเกษตรอินทรีย์นี้เป็นหลักการสากลที่สอดคล้องกับเงื่อนไขทางด้านเศรษฐกิจ-สังคม ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น

  12. หลักการเกษตรอินทรีย์ • หลักการเกษตรอินทรีย์ของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IFOAM) มี 4 ข้อ 1. สุขภาพ (health) 2. นิเวศวิทยา (ecology) 3. ความเป็นธรรม (fairness) 4. การดูแลเอาใจใส่ (care)

  13. แนวทางเกษตรอินทรีย์ • การหมุนเวียนของธาตุอาหาร • ความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารในดิน • ความหลากหลายที่สัมพันธ์กันอย่างสมดุลในระบบนิเวศ • การอนุรักษ์และฟื้นฟูนิเวศการเกษตร • การพึ่งพากลไกธรรมชาติในการทำเกษตร • การพึ่งพาตนเองด้านปัจจัยการผลิต

  14. นโยบายรัฐเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์นโยบายรัฐเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ • การรับรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ • ระเบียบข้อบังคับ มาตรฐาน และการตรวจสอบรับรอง • การตลาดส่งออก • การผลิต • ปัจจัยการผลิต • การวิจัย • การส่งเสริมการผลิต

  15. สถานการณ์การผลิตเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยสถานการณ์การผลิตเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย • การผลิตเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยแบ่งได้ 2 ประเภท 1. เกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเอง 2. เกษตรอินทรีย์ที่มีการรับรองมาตรฐาน

  16. เกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเองเกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเอง • การเกษตรแบบพื้นบ้าน โดยผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัวเป็นหลัก อาจมีผลผลิตบางส่วนจำหน่ายในตลาดท้องถิ่น • ไม่มีการรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานรับรอง หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการรับรองโดยเกษตรกรเองหรือผู้ซื้อก็ได้ เพราะผู้บริโภคมีโอกาสพบปะหรือรู้จักผู้ผลิตจึงตัดสินใจซื้อ โดยพิจารณาจากความเชื่อถือหรือไว้วางใจผู้ผลิต

  17. เกษตรอินทรีย์ที่มีการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่มีการรับรองมาตรฐาน • เกษตรกรทำการเพาะปลูกโดยมีผลผลิตเหลือสำหรับขาย • จำหน่ายผ่านทั้งระบบตลาดทั่วไปหรือการตลาดทางเลือก เมื่อได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แล้ว • ผู้บริโภคพิจารณาเลือกซื้อจากความเชื่อถือในตรารับรอง และหากได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่มีมาตรฐานทัดเทียมกับมาตรฐานของต่างประเทศ • ผลผลิตจากเกษตรกรสามารถจำหน่ายในต่างประเทศ

  18. หน่วยงานในประเทศไทยที่สังกัด IFOAM • สำนักมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท) [ACT - Organic Agriculture Certification Thailand] • APZ Cooperation Limited • Green Net • Panpee Resort and Export Partnership Ltd. • SEKAI

  19. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) แนวทางในการทำเกษตรกรรม เพื่อให้ได้ - ผลผลิตที่มีคุณภาพดี เป็นที่ต้องการของตลาด - ตรงตามมาตรฐานที่กำหนด - ให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุน - กระบวนการผลิตปลอดภัยต่อเกษตรกร - ผลผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค - ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด - สามารถตรวจสอบและสอบทวนได้ - ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตอื่นและสภาพแวดล้อม - เกิดความยั่งยืนทางเกษตร

  20. สาเหตุที่ต้องผลิตพืชตามระบบ GAP • ระบบการผลิตในปัจจุบันยังอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ผลิต (เกษตรกร) ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม • ยังไม่มีมาตรการหรือกลไกที่เหมาะสมในการป้องกันอันตรายอันเกิดจากผักและผลไม้สดปนเปื้อนสารพิษตกค้างอันเกิดจากการใช้สารเคมีประเภทต่างๆ และการปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ก่อโรคในคน • ทุกภาคส่วนของการผลิตต้องร่วมมือกันรณรงค์ให้เกิดการผลิตที่ถูกต้องอย่างจริงจัง และมีมาตรการการควบคุมที่เข้มแข็ง • เพิ่มคุณค่าและคุณภาพของผลผลิต อันส่งผลถึงภาพรวมของคุณภาพผลผลิตการเกษตรในระดับประเทศ  

  21. เกณฑ์การพิจารณาและวิธีปฏิบัติเพื่อเข้าสู่ระบบ GAP • ระบบการผลิตที่ต้องมีเอกสารบันทึกที่สามารถตรวจสอบติดตามได้ • มีการตรวจสอบการปนเปื้อนของสารพิษในผลผลิต ที่เกิดจากการใช้ สารเคมีควบคุมศัตรูพืช (โรคพืช แมลง และวัชพืช) • มีการตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคในคน • มีการตรวจสอบผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และสภาพแวดล้อม • การตัดสินใจตรวจวิเคราะห์ในข้อใดข้อหนึ่งขึ้นกับการพิจารณาของผู้ตรวจสอบรับรอง

  22. ประโยชน์ของ GAP • ผลผลิตพืชมีคุณภาพดี ไม่มีการปนเปื้อนจากสิ่งต้องห้ามทุกชนิด • ผู้ผลิต (เกษตรกร) และผู้บริโภคปลอดภัย • ลดการใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืชลง ให้ใช้เท่าที่จำเป็น • เน้นการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • สร้างจิตสำนึกของเกษตรกรผู้ผลิต/ผู้ค้าปัจจัยการผลิต และผู้บริโภค • เพิ่มมูลค่าผลผลิต

  23. สรุปประเด็นพืชน้ำมัน 1) ชนิดพืชน้ำมันที่สำคัญของประเทศไทยได้แก่ 1 ….… 2 ……… 3 ……… 2) พืชน้ำมันมีความสำคัญดังนี้ 1 …….…… 2 ……..….… 3 ……….…… 3) การอยู่ร่วมกันระหว่างไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่วแบบ symbiosis หมายถึง .................................................................................................. 4) การกำหนดคุณภาพเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศไทย เกรดที่ใช้สกัด น้ำมันประกอบด้วย 1 …….…… 2 ……..…. 3 ……….…… 4 .............. 5) ดัชนีเก็บเกี่ยว (harvest index) คำนวณจาก ............................................... 6) อะฟลาทอกซิน (AFLATOXIN) คือ ........................................................

  24. สรุปประเด็นมาตรฐานการผลิตพืชสรุปประเด็นมาตรฐานการผลิตพืช 7) การผลิตพืชแบบเคมี หมายถึง ................................................................ 8) การผลิตพืชแบบอินทรีย์ หมายถึง .......................................................... 9) การผลิตเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1 ……………………….…………… 2 ……….……………….…… 10) การทำเกษตรอินทรีย์ มีหลักการสำคัญดังนี้ 1 ……………… 2 ……….……… 3 ……………… 4 ………………

More Related