520 likes | 833 Views
บทบาท อสม. และ. รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล. ตามนโยบาย รมว.สาธารณสุข. นพ.นิทัศน์ รายยวา. ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10. ธงนำ. ประชาชนแข็งแรงและไม่ป่วย. ป่วยเล็กน้อยดูแลใกล้บ้าน “ สะดวก รวดเร็ว คุณภาพ ”. ป่วยมากส่งต่อรักษา “ รับผิดชอบ เอื้ออาทร ”.
E N D
บทบาท อสม. และ รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล ตามนโยบาย รมว.สาธารณสุข นพ.นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10
ธงนำ ประชาชนแข็งแรงและไม่ป่วย ป่วยเล็กน้อยดูแลใกล้บ้าน “สะดวก รวดเร็ว คุณภาพ” ป่วยมากส่งต่อรักษา “ รับผิดชอบ เอื้ออาทร” ป่วยเรื้อรัง “เยี่ยมเยียนด้วยความห่วงใย”
หมออนามัย ประชาชน อสม. รพ.สร้างเสริม สุขภาพตำบล
ลักษณะบริการ ประชาชนเข้าถึงบริการเท่าเทียมกัน บริการต่อเนื่อง บูรณาการ“ส่งเสริม ป้องกันรักษา ฟื้นฟู” ประสานทุกภาคส่วน ชุมชนเป็นเจ้าของช่วยดูแลระบบ
บริการปฐมภูมิสมบูรณ์แบบบริการปฐมภูมิสมบูรณ์แบบ ชุมชนมีส่วนร่วม รพส.ตำบล ส่งต่อรักษารับผิดชอบ เอื้ออาทร
2 3...n ม1 2 3..n รพ1 2 3 20 อ1 ส่งเสริมบทบาท อสม. ปฏิบัติงานเชิงรุก โครงสร้าง • อสม. (อ) ดูแล 20 หลังคาเรือน (ป 80 คน) • หมออนามัย (ม) ดูแล 20 อสม. (ป 1,400 คน) • รพ.สร้างเสริมฯ (รพ.ส.ต) ดูแล 8 หมออนามัย (ป 10,000 คน)
รพ.สร้างเสริมฯ ตำบล อยู่ในตำบล รวม สอ.เป็นเครือข่าย ประชากร ประมาณ 10,000 คน (7-9 หมู่บ้าน ) ทีมงานสาธารณสุข 8-9 คน
ทีมงานสาธารณสุข 1. ผู้จัดการ 1 คน2. พยาบาลเวชปฏิบัติ 2-3 คน3. นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 คน4. นักให้คำปรึกษา 1 คน5. นักสอบสวนโรค 1 คน6. นักจัดการยุทธศาสตร์ 1 คน
บทบาท อสม. 1.ดูแลประชากรชัดเจนแบบญาติมิตร ครอบครัวเดียวกัน(20 หลังคาเรือน 80 คน) 2.ประสานการดูแลสุขภาพ 2.1 วัณโรค 2.2 ฝากท้อง พาไปคลอด ลูกกินนมแม่ 2.3 กำจัดลูกน้ำยุงลาย 2.4 ผู้พิการ-คนชรา
บทบาทหมออนามัย 1.ดูแลประชาชน “ครบคน ครบเรื่องป่วย ครบเวลา” 2.ดูแล อสม. “เพื่อนใกล้ชิด ร่วมด้วย ช่วยกัน” 3.ทำงานเป็นทีมอย่างแข็งขัน “ เปลี่ยนครัวเรือน เป็นที่ทำงาน” 4.บริการ รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล มีประสิทธิภาพ “รับผิดชอบครบวงจร”
“รับผิดชอบครบวงจร” ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคไม่ให้คนป่วย จัดยาจำเป็นครัวเรือน รักษาเบื้องต้น “ดูแลที่บ้าน” ส่งต่อรักษา “เอื้ออาทร เจ้าของไข้” เยี่ยมที่บ้าน “ด้วยความห่วงใย”
เป็นผู้จัดการสุขภาพ(Project manager) บริหารพื้นที่เป็นฐาน หลักการ “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” บริหารงบประมาณ ส่งเสริมสุขภาพอย่าง โปร่งใส ผลักดัน รพส. ตำบล สมบูรณ์แบบจำนวน 1 ใน 3 ของอำเภอ บทบาทสาธารณสุขอำเภอ
เป็นที่ปรึกษา/ช่วยสาธารณสุขอำเภอ Project manager เติมคน จัดทีมครบถ้วน เติมใจ ค่าตอบแทน ขวัญกำลังใจ เติมสมอง เสริมความรู้ หนุนเสริมเต็มที่ อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติ, อุปกรณ์การแพทย์ , ส่งต่อ บทบาท ผอก. รพช.
หนุนเสริมสุด ๆ “สร้าง รพ.สร้างเสริมฯ ตำบลตัวอย่าง” ดูแลการส่งต่อผู้ป่วย “เอื้ออาทร ไม่มีเงื่อนไข ทุกกรณี” บทบาท ผอก. รพท./รพศ.
ประชากรประมาณ 10,000 คน ทีมงาน 8-9 คน “รวมคนรวมเงินรวมงาน” พยาบาลเวชฯ/วางแผนจะมี 2-3 คน รวมเครือข่าย สถานีอนามัย เงื่อนไขความสำเร็จ 1.เลือกพื้นที่ทดลอง
ปรับปรุงอาคารเครือข่ายทุก สอ. รถส่งต่อผู้ป่วย รถจักรยานยนต์คนละ 1 คัน โทรศัพท์มือถือ สิ่งอำนวยความสะดวกให้สุขศึกษา 2.ปรับแผนงบลงทุน
การสร้างความเข้มแข็งของระบบ 1. สมาชิกมีสัมพันธ์แนบแน่น อสม. * ประชาชน 80 คน* เบาหวาน 3 คน* ผู้สูงอายุ 8 คน* ผู้พิการ 3 คน* ผู้ป่วยทางจิต 2 คน* พาคนท้องไปคลอด 2 คน* สอนลูกกินนมแม่ 2 คน
2.เป็นตัวกลางส่งต่อผู้ป่วยผ่านมือถือ(แจกเบอร์สมาชิก)2.เป็นตัวกลางส่งต่อผู้ป่วยผ่านมือถือ(แจกเบอร์สมาชิก) 1.ส่งต่อ 1669 2.เยี่ยมสมาชิกป่วยที่ รพ. 3.เป็นเพื่อนผู้สูงอายุ ผู้พิการ
พบปะกันทุกสัปดาห์ ประชุมกันทุกเดือน หมออนามัย: อสม.
อสม. ค่าตอบแทน สวัสดิการดูแลความเจ็บป่วย บุตรเรียน สาธารณสุข ฌาปนกิจ ให้รางวัล ยุทธวิธีสร้างความผูกพัน ระหว่างหมออนามัยกับ อสม.
บรรจุเป็นข้าราชการ ค่าตอบแทน เสริมบทบาทสมาคม พบปะระดับเขต ให้รางวัลดูงาน ขวัญกำลังใจหมออนามัย
ระดับตำบล (เล็กสุด)ประชากร 10,000 คน • หมออนามัย • พนักงาน เยี่ยมบ้าน • 5 เสือปฐมภูมิ คน ของ เงิน • PP • เชิงรุก • สร้างนำซ่อม • “ทำมากได้มาก ทำยากได้เยอะ” • งบลงทุน (50:50) • ยืมใช้ • สมบัติร่วมกัน
การบริหาร รพส.ตำบล - บริหารคน - บริหารงบประมาณ - บริหารกิจกรรม/โครงการ
ภาวะผู้นำกับการบริหารภาวะผู้นำกับการบริหาร บริหารด้วยกรรมการ (มีส่วนร่วม) แบ่งหน้าที่ชัดเจน ( 5 เสือปฐมภูมิ ) สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) ความสะดวกปลอดภัยในการทำงาน การบริหารบุคคล รพส.ตำบล
รวมคน “รวมทีม”สา’สุข 8 – 10คน/ป 10000 อสม.กองหน้า “ญาติมิตรผู้ใกล้ชิด” อปท.“ร่วมรับผิดชอบ เพื่ออยู่ดีมีแฮง”
CL SM NP SR FM • ทีมงานประชุมทุกเดือน • รายงานการประชุม
ชมเชยข้อเด่นของผู้ร่วมงานชมเชยข้อเด่นของผู้ร่วมงาน หยุดตำหนิข้อด้อยของทีมงาน อดทนแนะนำแนวทางด้วยความทะนุถนอม ยุติข่าวลือติฉินนินทาด้วยความมั่นคง กระตุ้นปลุกเร้าทุกคนให้เห็นความสำเร็จ Leadership กับการสร้างทีม
Leadership 1. Establishing Direction : กำหนดทิศ 2. Building Alliances : คิดสร้างประสาน 3. Motivating & Inspiring : ชำนาญการปลุกเร้า
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ภาครัฐ อสม +ท้องถิ่น+NGO +ภาคประชาชน ส่งเสริม+ป้องกัน (สร้าง) รักษา+ฟื้นฟู (ซ่อม)
งบ PP ทุกหมวด งบ เงินบำรุง งบภาระกิจเฉพาะจาก สปสช งบร่วมกับ อปท. งบ OPD จาก รพ. โอนตรงตามจ่าย? ควบคุมยอดใช้? บริหารงบประมาณ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง
“รวมเงิน” • เงิน OPD และ PP จากงบ UC • งบประมาณจาก อปท. • งบ Vertical Program จาก สปสช. • เงินสมทบจากการบริจาค • อื่น ๆ จากกระทรวง
แบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบ(เจ้าภาพ)แบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบ(เจ้าภาพ) มีบันทึกคู่มือการทำงาน มีเครือข่าย อสม.ชัดเจน สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) สัมพันธ์ อสม.(พบปะทุกสัปดาห์) จัดระบบเยี่ยมบ้าน (เดี่ยว,คู่,ทีม) แบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบ(เจ้าภาพ) มีบันทึกคู่มือการทำงาน มีเครือข่าย อสม.ชัดเจน สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) สัมพันธ์ อสม.(พบปะทุกสัปดาห์) จัดระบบเยี่ยมบ้าน (เดี่ยว,คู่,ทีม) การบริหารกิจกรรม/โครงการ
ปฐมภูมิคุณภาพ ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมก่องาน สสม. ต่อยอดงานรักษา ส่งต่อเมื่อจำเป็น
สุขภาวะ ตติยภูมิ รพท/ศ. ทุติยภูมิ รพช. ปฐมภูมิ สอ. พิการ EMS DHF DM MCH อ จ
“รวมงาน” • บุคคลและครัวเรือนเป็นเป้าหมาย • ทุกคนช่วยกันดูแลสุขภาพ • มีตู้ยาครัวเรือนมียาจำเป็นเร่งด่วน • ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ไม่ถูกทอดทิ้ง • เจ็บป่วยดูแลครบวงจร
“รวมงาน” (ต่อ) 5.1 ผู้ส่งต่อเป็น“เจ้าของไข้” 5.2 ผู้รับยินดี“พรรคพวกส่งมา” 5.3 ทุกรพ.ร่วมมือ“หน่วยเดียวกัน” 5.4 ทุกรพ.แสดง“สามารถรักษาชัดเจน” 5.5 ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ครบ
การประเมิน • ประชาชนรวมกลุ่มเป็นชมรมดูแลสุขภาพกันเอง • โรคเรื้อรังได้รับการดูแลต่อเนื่อง ไม่ขาดการติดต่อ • ส่งต่อการแพทย์ฉุกเฉิน • ชุมชนมีมาตรการทางสังคม • ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ไม่ถูกทอดทิ้ง