1 / 12

ผู้จัดทำ

ผู้จัดทำ. เด็กชายกิจสุภัทร มีอาหาร เลขที่ 1 เด็กหญิงพัชริ นทร์ ฟองมูล เลขที่ 30 เด็กหญิงวิราพร ใหม่ วงค์ เลขที่ 33 เด็กหญิงศิ ริประภา จันเขียว เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3. เรื่อง เสียง ( Sound) หรือ ออดิโอ ( Audio). เสียง ( Sound)

neona
Download Presentation

ผู้จัดทำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้จัดทำ เด็กชายกิจสุภัทร มีอาหาร เลขที่ 1 เด็กหญิงพัชรินทร์ ฟองมูล เลขที่ 30 เด็กหญิงวิราพร ใหม่วงค์ เลขที่ 33 เด็กหญิงศิริประภา จันเขียว เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3

  2. เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio) เสียง (Sound) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้เพื่อสร้างบรรยากาศเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมให้กับผู้ชมงาน ทำความรู้จักกับเสียง (Sound) เสียง (Sound)อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light)ประกอบด้วยแอมพลิจูด(Amplitude) และความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียงโดยปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์การวัดระดับของคลื่นเสียงจะมีหน่วยวัดที่เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ 2 หน่วย คือ เดซิเบล (Decibel) ซึ่งเป็นหน่วยวัดความดังของเสียงและเฮิรตซ์ (Hertz: Hz)คลื่นเสียงที่มีระดับความดังมากๆ ที่ถือว่าเป็นอันตรายต่อกลไกการได้ยินนั้น คือ เสียงตั้งแต่ 85 เดซิเบลขึ้นไป ซึ่งความเสี่ยงของการสูญเสียการได้ยิน จะขึ้นอยู่กับความดังของเสียง และระยะเวลาของการได้ยิน

  3. องค์ประกอบของระบบเสียงองค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ไมโครโฟนสามารถแบ่งแบ่งชนิดของโครงสร้างได้เป็น 2 ได้แก่ ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone) และคอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) • ไดนามิคไมโครโฟน (Dynamic Microphone) • คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งชนิดของไมโครโฟนตามทิศทางการรับเสียงได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ • ไมโครโฟนชนิดรับเสียงรอบทิศทาง (Omni Directional Microphone) • ไมโครโฟนชนิดรับสียงแบบสองทิศทาง (Bi Directional Microphone) • ไมโครโฟนชนิดรับเสียงแบบทิศทางเดียว (Uni Directional Microphone)

  4. เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เป็นอุปกรณ์สำหรับการขยายสัญญาณอินพุตให้มีความดังหรือแอมพลิจูตเพิ่มขึ้นโดยเครื่องขยายเสียงจะประมวลผลสัญญาณโดยใช้ชุดของทรานซิสเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่บนแผงวงจรและใช้พลังงานจากพาวเวอร์ซับพลาย ลำโพง Speaker ลำโพง Speakerเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแปลงพลังงานทางไฟฟ้ากลับเป็นพลังงานเสียง ซึ่งมีฟังก์ชันการทำงานตรงข้ามกับไมโครโฟนหรือเครื่องขยายเสียง

  5. อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ ประเภทของเสียง ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือสัญญาณเสียงที่ส่งมากจากไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้นเอง และนำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิตข้อมูล อุปกรณ์สำหรับความคุมและบันทึกเสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) และอุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device)การ์ดเสียง (Sound Card)

  6. องค์ประกอบสำคัญของการ์ดเสียงมี ดังนี้ องค์ประกอบพื้นฐานที่อยู่ภายในการ์ดเสียง ได้แก่ -หน่วยความจำ (Memory Bank) -ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (DSP Digital Signal Processor) -ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก (DAC : Digital to Analog Converter) -เวฟเทเบิล(Wave Table) -พอร์ตอินพุต และพอร์ตเอาท์พุตของเสียง (Input and Output Port) การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Audio File) การประมวลผลไฟล์เสียงมีอยู่ 2 ชนิด ดังนี้ • Wave File เป็นไฟล์ของคลื่นเสียงในรูปแบบอนาล็อก โดยการ์ดเสียงจะได้รับเสียงในรูปแบบสัญญาณอนาล็อกจากไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นซีดี • MIDI File เป็นไฟล์ที่ต้องการชิปสำหรับสังเคราะห์เสียงแบบมิดี้ หรือ Synthesize Chip โดยจะเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับไฟล์ MIDI ไว้บนฮาร์ดดิสก์ในรูปแบบแท็กซ์ไฟล์ ซึ่งจะแสดงข้อมูลว่าใช้เครื่องดนตรีอะไรในการเล่นและ เล่นอย่างไร

  7. อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) • การถ่ายทอดข้อมูลเสียงระหว่างอุปกรณ์ที่ต่างกัน ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่ใช้ถ่ายทอดสัญญาณเสียงระหว่างผู้รับและผู้ส่งสัญญาณเสียงที่สำคัญมีดังนี้ • Phone Audio Jack • RCA Jack • XLR Audio Connector • Compact Disc Digital Audio System • Digital Audio Tape (DAT) • Digital Data Storage (DDS) • Digital Compact Cassette (DCC) • MiniDisc (MD) • อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device) • ในปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับจัดเก็บ และบันทึกข้อมูลเสียงหลากหลายชนิด ดังนี้ • Compact Disc Digital Audio System • Digital Audio Tape (DAT) • Digital Data Storage (DDS) • Digital Compact Cassette (DCC) • MiniDisc (MD)

  8. การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Sound) • กระบวนการต่างๆตั้งแต่นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับสร้าหรือแก้ไขเสียงโดยเฉพาะคือ โปรแกรม MidiNotateจากนั้นจะปรับแต่ง แก้ไขแล้วทำการดสอบเสียงที่ได้ และนำไฟล์เสียงไปใช้งานต่อไป • การบันทึกหรือการนำเข้าข้อมูลเสียง • เป็นการนำเสียงที่ได้จากการพูด การเล่นเครื่องดนตรีหรือเสียงจากแหล่งต่างๆเพื่อนำไปใช้งานตามต้องการเพื่อใช้ในการเพิ่มเสียงลงในภาพยนตร์การ์ตูนต้น โดยคุณภาพเสียงที่บันทึกจะขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์มที่ใช้ในการบันทึก ซึ่งเสี่ยงที่ได้จากการบันทึกสามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบ คือ Synthesize Sound เป็นเสียงที่เกิดจากตัววอเคราะห์เสียงสิ่งสำคัญก่อนบันทึกเสียง คือ จะต้องทำการเลือก Sampling Rate เพื่อให้ได้เสียงที่ต้องการและใกล้เคียงกับเสียงจริงหากกำหนดอัตรา Sampling Rate สูง ความถูกต้องของข้อมูลเสียงที่ทำการบันทึกจะสูงตามไปด้วย ซึ่งเรียกว่า “ความละเอียดของเสียง” การแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ การแก้ไขไฟล์เสียง (Sound Editing) คือ การตัดต่อ และการปรับแต่งเสียงสิ่งสำคัญในการแก้ไขเสียง คือ การจัดสรรเวลาของการแสดงผลให้สัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆ

  9. รูปแบบไฟล์เสียง สามารถทำได้หลายรูปแบบ โดยรูปแบบของการบีบอัดไฟล์เสียงจะมี 2 วิธี คือ “Lossless Compression” เป็นไฟล์เสียงที่รักษาข้อมูลไว้อย่างครบถ้วนส่วนอีกวิธี คือ Lossy Compression วิธีนี้จะตัดข้อมูลเสียงบางส่วนออกไป ทำให้รายละเอียดของเสียงหายไป แต่ไฟล์จะมีขนาดเล็กและลักษณะการนำไปใช้งานที่ต่างกัน ดังนี้ • WAV (Waveform Audio) • AIFF (Audio Interchange File Format) • AU (Audio) • MIDI (MIDI) • MP3 (MPEG Layer III) • VOC (Voice) • WMA (Window Media Audio) • RA (Real Audio) • AAC (Advance Audio Coding) • TTA (True Audio) ซอร์ฟแวร์สำหรับเล่นไฟล์ออดิโอ ในปัจจุบันซอร์ฟแวร์ที่ใช้เล่นไฟล์เสียงมีอยู่มากมาย ซึ่งบางซอร์ฟแวร์ก็สามารถแสดงได้ทั้งภาพและเสียง โดยหัวข้อนี้จะกล่าวถึงซอร์ฟแวร์ต่างๆที่สำคัญ ดังนี้ • Windows Media Player • Winamp • Multimedia System (XMMS) • RealPlayer • Musicmatch Jukebox • JetAudio • iTunes • Quintessential Player • Sonique • XMPlay • MusikCube

  10. ออดิโอกับมัลติมิเดีย วัตถุประสงค์หลักในการนำเสียงเข้ามาประยุกต์ใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย คือ เพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหาที่ต้องการนำสนอและลดการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบทีซ้ำซ้อน ความเข้าใจเกี่ยวกับเสียงประเภทต่างๆดังนี้ ประเภทของเสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย เสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด(Speech) เสียงพูดแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่ • เสียงพูดแบบ ดิจิตอล(Digitized ) • เสียงพูดแบบสังเคราะห์ (Synthesized) เสียงเพลง (Music) นับเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสารของมนุษย์เช่นเดียวกับเสียงพูด เสียงเอฟเฟ็กต์(Sound Effect)ถูกใช้สำหรับเพิ่ม หรือปรับปรุงเสียงให้มีความแปลกใหม่ สามารภแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ • เสียงเอฟเฟ็กต์ธรรมชาติ (Natural)เป็นเสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดที่มีอยู่ตามธรรมชาติรอบๆ ตัวมนุษย์ เช่น เสียงนก น้ำตก หรือคลื่นในทะเล เป็นต้น • เสียงเอฟเฟ็กต์สังเคราะห์ (Synthetic)เป็นเสียงที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์

  11. ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน • ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอ หรือเสียงพูด • เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย • ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบมิดี้ หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่ • พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งานจึงจะเหมาะสม • นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมิเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับงานมัลติมิเดียที่ทำการผลิต • ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอมีความสัมพันธ์กับภาพในงานมัลติมเดียที่ผลิตขึ้น หากไม่สัมพันธ์กันต้องทำตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ซ้ำแล้วให้ทดสอบใหม่จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

  12. สรุป เสียง(Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้

More Related