360 likes | 629 Views
คณะที่ ๓ การ บริหารจัดการระบบสุขภาพ. จังหวัดยโสธร. ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๑ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง. ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๑ ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหา ทางการเงินการคลังลดลง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐). ภาวะ วิกฤติทางการเงินของหน่วย บริการ ( ไตรมาส ๓/๒๕๕๕ - ๑/๒๕๕๖).
E N D
คณะที่ ๓ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ จังหวัดยโสธร
ประเด็นการตรวจราชการ๓.๑.๑ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๑ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินการคลังลดลง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐)
ภาวะวิกฤติทางการเงินของหน่วยบริการ (ไตรมาส๓/๒๕๕๕ -๑/๒๕๕๖)
เงินบำรุงคงเหลือสุทธิ มูลค่าวัสดุคงคลัง ลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หนี้สินคงเหลือ โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖
เปรียบเทียบ รายรับจริงกับแผนการเงินการคลัง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖
เปรียบเทียบ รายจ่ายจริงกับแผนการเงินการคลัง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖
สัดส่วนรายรับจริงกับรายจ่ายจริง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖
การดำเนินงาน ๑. มีคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ จังหวัดยโสธร เพื่อดูแลเรื่องการเงินการคลัง และต้นทุนหน่วยบริการ ๒. จัดทำแนวทางการจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัว (ค่าบริการทางการแพทย์) ที่ผ่านมติของคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด ๓. หน่วยบริการจัดทำแผนการเงินการคลังผ่านการอนุมัติของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ๔. มีโปรแกรมระบบบันทึกข้อมูลการติดตามการดำเนินงานตามแผนการเงินการคลัง และการเฝ้าระวังการเงินการคลังหน่วยบริการ ๕.มีการประชุมเฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการ เพื่อติดตามสถานการณ์การเงินการคลังทุกเดือน ในวันประชุมทางไกล ( Web Conference ) ๖. คณะกรรมการ CFO จังหวัด ออกตรวจประเมินโรงพยาบาลที่มีปัญหาทางการเงิน
ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย ยังมีปัญหาทางการเงินการคลัง ที่ต้องเฝ้าระวัง ติดตามแก้ไข ต่อไป
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๒ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนของหน่วยบริการที่ครบถ้วน (ร้อยละ ๕๐)ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๓ร้อยละของหน่วยบริการมีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน (มีและใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐาน) (ร้อยละ ๘๐)
ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย ผลการศึกษาปี ๒๕๕๕ ๑.ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย มีข้อมูลต้นทุนหน่วยบริการที่ครบถ้วน ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยบริการ มีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน ทุกหน่วยบริการเตรียมข้อมูลเพื่อศึกษา ปี ๒๕๕๖
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๔ร้อยละของหน่วยบริการที่มีและใช้แผน (๓ แผน) ตามระบบการจัดการควบคุมภายใน (ร้อยละ ๙๐)
แผน ๓ แผน • โรงพยาบาลทุกแห่งมีการจัดทำแผน 3 แผนครบทุกแห่งและมีการปรับแผน ส่งรายงานตามระบบรายงานของกลุ่มงานประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ทุก 6 เดือน • ส่วนการนำมาใช้ในการจัดระบบควบคุมภายใน มีการควบคุมกำกับดูแล และติดตามผลโดยการนิเทศงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตามกฎระเบียบ การเงินการคลัง การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงานโดยให้รายงานผลการปฏิบัติงานทั้งระบบรายงานเอกสารและทาง website ที่เกี่ยวข้อง
Financial Administration Index : FAI ๑.การพัฒนาระบบควบคุมภายใน (Internal Control :CI) ๒.การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit : AC) ๓.ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) ๔.การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost :UC)
เกณฑ์คะแนนระดับความสำเร็จการบริหารการเงินการคลัง ณ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๒ การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๕ ต้นทุนค่ายาและวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง ร้อยละ ๑๐
ประเด็น 3.2การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้ยาร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้ยา ภาพรวมทั้งจังหวัด เพิ่มขึ้น 13.89%
มูลค่ายา OPD ต่อใบสั่งยา - มูลค่ายา IPD ต่อ adj RW
มูลค่ายา OPD ต่อใบสั่งยา - มูลค่ายา IPD ต่อ adj RW
ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้วัสดุการแพทย์ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้วัสดุการแพทย์ ภาพรวมทั้งจังหวัด ลดลงร้อยละ 5.42
กิจกรรมลดต้นทุนค่ายาของจังหวัดกิจกรรมลดต้นทุนค่ายาของจังหวัด 1. จัดซื้อยารวมเขต จำนวน 28 รายการ โดยปี 2556 จ.ศรีสะเกษ เป็นเจ้าภาพหลัก 2. มีระบบการสืบราคาและต่อรองราคายาของ รพ.ยโสธร 3.มีการกำหนดกรอบรายการยาของโรงพยาบาลไม่ให้มีมากเกินไป (รพท.550,รพช.350 และ รพ.สต. 100 รายการ) ทำได้ร้อยละ 89 (รพ.8 แห่งจากทั้งหมด 9 แห่ง) 4.มีการควบคุมสัดส่วนรายการยา ED:NED อยู่ในเกณฑ์ที่กระทรวงฯ กำหนด (รพท.80:20, รพช.90:10) ทำได้ร้อยละ 89 (รพ.8 แห่งจาก ทั้งหมด 9 แห่ง 5.ลดอัตราสำรองยาคงคลัง วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุการแพทย์
กิจกรรมลดต้นทุนค่ายา จังหวัดยโสธร ด้านการจัดซื้อจัดหา 1.จัดซื้อยารวมระดับเขต และจังหวัด เพื่อให้ได้ยาที่ถูกลง 2.กำหนดกรอบรายการยาให้อยู่ในเกณฑ์ 3.ควบคุมสัดส่วนรายการยาED :NED 4.ลดอัตราสำรองคงคลัง เป็น 2 เดือน
กิจกรรมลดต้นทุนค่ายา จังหวัดยโสธร ด้านการสั่งใช้ยา 1.ASU 2.DUE 3.ลดต้นทุนการจ่ายยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4.การใช้ยาชื่อสามัญแทนยาต้นแบบ 5.ลดการใช้ยา NED และยาราคาแพง 6.ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบัน
การดำเนินการลดต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบ 2556 • 1. ประชุมเครือข่ายห้องปฏิบัติการ จังหวัดยโสธร เพื่อจัดทำราคาเฉลี่ยของ จังหวัด • 2. นำราคาเฉลี่ยของจังหวัดไปเทียบกับราคาอ้างอิงของเขตเพื่อเป็น เป้าหมายในการต่อรองราคาให้ลดลง • 3. ได้ดำเนินการต่อรองราคาเบื้องต้นแล้ว 5 แห่ง ได้แก่ รพ.คำเขื่อนแก้ว, • กุดชุม,มหาชนะชัย, ไทยเจริญและทรายมูล ส่วนที่เหลืออยู่ในระหว่าง • ดำเนินการ 4. มีการแยกสอบราคาตามความพร้อมของแต่ละโรงพยาบาล
การดำเนินการลดต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบ 2556 • 6.แต่งตั้งคณะทำงานจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมระดับจังหวัด(อยู่ระหว่างดำเนินการ) • 7. จัดอบรมโปรแกรมบริหารวัสดุวิทยาศาสตร์ (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๓ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อลงนามสัญญาได้ภายในไตรมาส ที่ ๒ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๖ ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ ๒ (เท่ากับ ๑๐๐) ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๗ ร้อยละของรายการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐)
ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย รายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ ๒ ทุกรายการ (ร้อยละ ๑๐๐) งบลงทุนเบิกจ่ายได้ ร้อยละ.............
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ
สวัสดี www.yasopho.in.th