1 / 66

นโยบายยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 และระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ

นโยบายยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 และระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ. โดย ชุตินาฏ วงศ์สุบรรณ ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. การฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับภารกิจของคณะรัฐมนตรี”

neville
Download Presentation

นโยบายยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 และระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 และระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ โดย ชุตินาฏ วงศ์สุบรรณ ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับภารกิจของคณะรัฐมนตรี” วันพุธที่ 6 ธันวาคม 2549 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องมิ่งเมือง ชั้น 4 โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์

  2. ส่วนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 กรอบการนำเสนอ • แนวคิดกระบวนทรรศน์ใหม่ของการวางแผน • สาระสำคัญของแผนฯ 10 • การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 1 ระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ • ภาพรวมระบบการติดตามประเมินผล • ระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ • การติดตามประเมินผลการพัฒนาในระยะแผนฯ 10 กับดัชนีชี้วัดความอยู่เย็นเป็นสุข

  3. ส่วนที่ 1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10

  4. กระบวนทรรศน์ใหม่การพัฒนาประเทศกระบวนทรรศน์ใหม่การพัฒนาประเทศ แผนฯ 9 2545-49 แผนฯ 102550-54 แผนฯ 82540-44 • อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานำทาง • เน้นการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เริ่มต้นนวัตกรรมทางความคิด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” • สานต่อกระบวนทรรศน์ การพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม มีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา • ยึดกระบวนการ พัฒนาต่อเนื่อง จากแผนฯ 8 และ แผนฯ 9 • ปรับเปลี่ยนวิธีการมาเป็นบูรณาการแบบองค์รวม • เน้นสังคมเข้มแข็งมีดุลยภาพเป็นสังคมที่มีคุณภาพ มีภูมิ-ปัญญาและการเรียนรู้ รวมทั้งความสมานฉันท์ และเอื้ออาทร • มุ่งให้คนมีความสุข ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข สิ่งแวดล้อมยั่งยืน • มุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน • มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย วางรากฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน เครือข่ายภาคีทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน สร้าง/ขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วม

  5. กระบวนการจัดทำแผนฯ 10 ยกร่างรายละเอียด ยุทธศาสตร์ฯ อนุมัติและ ประกาศใช้ แผนฯ 10 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ในสังคม ร่วมระดมความคิดจัดทำแผนฯ 10 อย่างกว้างขวาง ร่วมสร้างวิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ประมวลแนวคิด ประเมินผล แผนฯ 9 สถานะของ ประเทศ วิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลง บริบทโลก วิเคราะห์ 3 ทุน เศรษฐกิจสังคม และทรัพยากรฯ ศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย

  6. ศตวรรษแห่งเอเชีย การเคลื่อนย้ายอย่าง เสรีของสินค้า เงินทุน เทคโนโลยี ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี • ยกระดับมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันฐานทรัพยากร รักษาความสมดุลของระบบนิเวศน์ • ปรับรูปแบบการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและพัฒนาพลังงานทางเลือก ภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติ ระบบนิเวศน์ และความหลากหลายทางชีวภาพ เคลื่อนย้ายแรงงานมีความรู้/ผู้ประกอบการมากขึ้น • มาตรการกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • เตรียมมาตรการรองรับการเคลื่อนย้ายคนอย่างเสรีที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการปรับตัวของประเทศ • ดำเนินนโยบายการค้าเชิงรุก • ธุรกิจต้องปรับตัวแข่งขันได้ • ยกระดับการกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศและบริหารจัดการตลาดการเงิน • สร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ • สร้างโอกาสการเรียนรู้ให้คนไทยปรับตัวรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับจุดแข็งด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้ • โอกาสการขยายตลาดสินค้าและบริการเพื่อสุขภาพ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ • ป้องกันความเสี่ยงและแก้ไขการแพร่ขยายของวัฒนธรรมต่างชาติที่ก่อให้เกิดค่านิยมและการบริโภค ที่ไม่พึงประสงค์ สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาการออม การเปลี่ยน แปลงรูปแบบการบริโภค

  7. สถานะของประเทศ :ด้านสังคม • ไทยอยู่ในกลุ่มที่มีการพัฒนาคนระดับกลาง HDI= 0.78 อันดับที่ 73 จาก 177 ประเทศ • ศักยภาพคนไทยด้านการศึกษาเพิ่มสูงขึ้น - ปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 6.3 ปี (2543) เป็น 8.5 ปี (2548) - โอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น อัตราการเข้าเรียนเพิ่มทุกระดับ มัธยมศึกษาเพิ่มจาก 49 % (2544) เป็น 71.2 % (2548) อุดมศึกษาเพิ่มจาก 40.3 % (2544) เป็น 44.3 % (2547) • คนไทยมีสุขภาวะดีขึ้น 96.3% มีหลักประกันสุขภาพทั่วถึง เจ็บป่วยลดลง แต่เจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้มากขึ้น และเผชิญปัญหาโรคอุบัติใหม่ โรคระบาดซ้ำมากขึ้น • กำลังคนระดับสูง กลาง ขาดแคลน การวิจัยพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ ฉุดรั้งการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • การคุ้มครองทางสังคมครอบคลุมมากขึ้น แต่แรงงานนอกระบบ และกลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่ได้รับหลักประกันทางสังคมทั่วถึง • มีความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และการก่อความไม่สงบในสังคมสูงขึ้น

  8. สถานะของประเทศ :ด้านเศรษฐกิจ • เศรษฐกิจขยายตัวต่อเนื่องเฉลี่ย 5.7% (2545-2548) ไทยเป็นประเทศรายได้ปานกลาง ใหญ่เป็นอันดับ 20 จาก 192 ประเทศ • ความสามารถในการแข่งขันจัดโดย IMD ดีขึ้นต่อเนื่อง จากอันดับ 31 (2545) เป็น 27 (2548) แต่ลดลงเป็นอันดับที่ 32 ในปี 2549 จากปัจจัยด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน และประสิทธิภาพของภาครัฐ • โครงสร้างการผลิตมีฐานการผลิตที่หลากหลาย ช่วยลดความผันผวนของวัฏจักรเศรษฐกิจ ยังคงพึ่งพิงการนำเข้าในสัดส่วนสูง นำเข้าพลังงานถึง 80% มีความเสี่ยงจากการขาดดุลการค้า/ดุลบัญชีเดินสะพัด • เสถียรภาพเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี - อัตราการว่างงาน 2% - หนี้สาธารณะ 46.4% ของGDP ต่ำกว่าเกณฑ์ 60%ของกรอบการคลังยั่งยืน - ทุนสำรองระหว่างประเทศ 52.1 bill. $us หรือ 5.9 เดือนของการนำเข้า • ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นข้า ๆ โดยการกระจายรายได้ดีขึ้น ดัชนี GINI ลดลงจาก 0.525 (2543) เป็น 0.499 (2547) คนจนลดลงจาก 12.8 ล้าน (2543) เป็น 7.34 ล้าน (2548)

  9. สถานะของประเทศ :ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การขาดสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์กับการอนุรักษ์ฟื้นฟู ส่งผลกระทบให้เกิดความเสื่อมโทรม / ปัญหาภัยธรรมชาติ - พื้นที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 33% ของพื้นที่ประเทศ ต่ำกว่าระดับรักษาสมดุล ของระบบนิเวศคือ 40% (ญี่ปุ่น 68% เวียตนาม 40%) - ภาวะขาดแคลนน้ำ น้ำจืดเฉลี่ย/คน 3.4 พันลบ.ม. (เอเชีย 3.9 พันลบ.ม.) - ดินเสื่อมโทรมมากขึ้น มีปัญหาถึง 60% ขยายตัวปีละเกือบ 1 ล้านไร่ - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งลดความอุดมสมบูรณ์ - ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม สัตว์/พืชใกล้สูญพันธุ์ 684 ชนิด • คุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมยังเสื่อมโทรม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต - คุณภาพอากาศในเมืองใหญ่ มีฝุ่นละอองขนาดเล็กเพิ่มขึ้น - ปริมาณกากของเสียมากถึงปีละ 22 ล้านตัน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น - เกิดของเสียอันตรายปีละ 1.8 ล้านตัน กำจัดได้ต่ำกว่าครึ่ง • การบริหารจัดการยังแยกส่วน

  10. สถานะของประเทศ :ด้านการบริหารจัดการประเทศ • การพัฒนาระบบราชการไปสู่ความทันสมัย มีประสิทธิภาพก้าวหน้ามากขึ้น คะแนนเฉลี่ยเพิ่มจาก 2.61 ในปี 2546 เป็น 3.82 ในปี 2546 • ประชาชนตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น การไปใช้สิทธิเลือกตั้งสูงถึง 72.6 % ในปี 2548 สูงที่สุดตลอดช่วงที่ผ่านมา • ความโปร่งใสในการบริหารจัดการภาครัฐดีขึ้น ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) เพิ่มขึ้นจาก 3.2 ในปี 2545 เป็น 3.6 ในปี 2549

  11. ทุน ทรัพยากรฯ ทุนเศรษฐกิจ ทุน สังคม ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ประเทศ บุคคล การวิเคราะห์เสริมสร้างทุนประเทศสู่ความยั่งยืน • การศึกษา • สุขภาวะ • วัฒนธรรม มุ่งนำทุนที่มีอยู่ในสังคมไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และเสริมสร้างให้เข้มแข็งสร้างภูมิคุ้มกัน • การออม/หนี้สิน • การขยายตัวทางเศรษฐกิจ • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ป่าไม้ / ดิน / น้ำ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม วางแนวทางเสริมสร้างทุนจาก

  12. แนวคิดพื้นฐานยึด “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ทางสายกลาง แนวคิดหลัก แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี คุณธรรม ความเพียร ความรอบรู้ เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ เชื่อมโยงวิถีชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/การเมือง สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์/ผลที่ได้รับ

  13. ค น กระบวนทรรศน์การพัฒนาที่ปรับเปลี่ยน...สู่ความพอเพียง ยึดคนเป็นตัวตั้ง ประชาชนได้รับประโยชน์ มีความอยู่ดีมีสุข สู่ คนเป็นศูนย์กลาง ความอยู่ดีมีสุข ปรับจากมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ ผลประโยชน์ประชาชน ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ตามความแตกต่างหลากหลายของ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กับวิถีชีวิตชุมชน ภูมิ- ปรับวิธีคิดแบบแยกส่วนรายสาขา สู่ องค์รวมบูรณาการเชื่อมโยงทุกมิติ สังคม การมีส่วนร่วมของประชาชน ปรับกระบวน การพัฒนาจากบนลงล่าง เริ่มพัฒนา “ตามลำดับขั้น” ด้วยการพึ่งพาตนเอง-รวมกลุ่ม- สร้างเครือข่าย-เชื่อมสู่ภายนอก “ระเบิดจากข้างใน” สู่ กระบวน การพัฒนาจากล่างขึ้นบน การอยู่ร่วมกันด้วยสันติสุขระหว่างคนกับคน ระหว่างคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  14. การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับบริบทการพัฒนาประเทศ ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร คนเป็นศูนย์กลาง บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตร พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน คน สังคม การพัฒนาคุณภาพคน สังคมแห่งศีลธรรม ฐานความรู้ ดุลยภาพจิตใจ-วัตถุ พึ่งพาตนเอง ปรับตัวรู้เท่าทันโลก สร้างภูมิคุ้มกันแก่ครอบครัวชุมชน สังคม ประเทศ“สังคม อยู่เย็น เป็นสุขร่วมกัน” การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ภายนอก ชนบท-เมือง ชุมชน ดุลยภาพภายใน การพัฒนาเศรษฐกิจไทยบนฐานการผลิตที่แข็งแกร่งด้วยองค์ความรู้ สร้างคุณค่าเพิ่ม จัดการความเสี่ยง/ ภูมิคุ้มกัน เศรษฐกิจ ดุลยภาพภายใน- โลกาภิวัตน์ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพ สวล. อนุรักษ์-ใช้ประโยชน์ ทรัพยากรฯ ดุลยภาพภายใน การเสริมสร้างระบบและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย แข่งขัน-กระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ อย่างเป็นธรรม

  15. วิสัยทัศน์พันธกิจการพัฒนาประเทศวิสัยทัศน์พันธกิจการพัฒนาประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี 4 พันธกิจการพัฒนา พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ พร้อมคุณธรรมและรอบรู้อย่าง เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ พัฒนาระบบบริหาร จัดการประเทศให้เกิด ธรรมาภิบาลภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม ดำรงความหลากหลาย ทางชีวภาพสร้างความ มั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  16. วัตถุประสงค์ในระยะแผนฯ 10 สร้างโอกาสการเรียนรู้คู่คุณธรรม จริยธรรม เพิ่มศักยภาพชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย ปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่าสินค้า/บริการ สร้างภูมิคุ้มกัน/ ระบบบริหารความเสี่ยงให้ภาคเศรษฐกิจต่างๆ สร้างระบบแข่งขันการค้า/ การลงทุนให้เป็นธรรม เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร/ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศให้เกิดขึ้นในภาครัฐ เอกชน ประชาชน

  17. เป้าหมายในระยะแผนฯ 10 เป้าหมายด้านพัฒนาคุณภาพคน ความเข้มแข็งชุมชน พัฒนาคนให้มีสุขภาวะดี จิตใจ อารมณ์ กาย สติปัญญามีความสมดุล เข้าถึงหลักศาสนา มีคุณธรรมนำความรอบรู้ มีสัมมาชีพ มีความมั่นคงในชีวิต • ด้านสติปัญญาและการเรียนรู้ : เพิ่มปีการศึกษาเฉลี่ยเป็น 10 ปี / พัฒนาแรงงานระดับกลางที่มีคุณภาพเป็น 60 % ของกำลังแรงงานรวม / เพิ่มสัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา 10 คน : ประชากร 10,000 คน • ด้านสุขภาพ : เพิ่มอายุคาดหมายเฉลี่ยคนไทยเป็น 80 ปี / ลดอัตราเจ็บป่วยด้วยโรคป้องกัน ได้ 5 อันดับแรก • ด้านสวัสดิการสังคม : ดูแลผู้อยู่ในเศรษฐกิจนอกระบบให้ได้รับการคุ้มครองทางสังคม / บรรเทาปัญหายาเสพติด และลดคดีอาชญากรรมลงเหลือร้อยละ 10 พัฒนาชุมชนเข้มแข็ง สงบ สันติ และแก้ปัญหาความยากจนให้ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข • ลดสัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจนเหลือ 4% ภายในปี 2554 • ให้ทุกชุมชนมีการจัดทำแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วม และประสานเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำแผนชุมชนไปใช้ประกอบการจัดสรรงบประมาณ

  18. เป้าหมายด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจมีคุณภาพ โครงสร้างเศรษฐกิจมีความสมดุลมากขึ้น • สัดส่วนภาคเศรษฐกิจในประเทศ : ภาคการค้าระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นจาก 71 % ในปี 2548เป็น 75 %ในปี 2554 • สัดส่วนภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรเพิ่มขึ้นจาก 12.4 % ในปี 2548 เป็น 15 % ภายในปี 2554 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย3.0-3.5 % ต่อปี • สัดส่วนการออมรวมอยู่ที่ระดับ 35 % ของ GDP • สัดส่วนหนี้สาธารณะ : GDP ไม่เกิน 50% • การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเฉลี่ยต่อปีไม่เกิน 2 % ของ GDP • การใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่นการใช้พลังงานเฉลี่ยไม่เกิน 1:1 ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ • การกระจายรายได้ดีขึ้น โดยรายได้ของกลุ่มที่รายได้สูง : รายได้น้อย มีสัดส่วนไม่เกิน 10 เท่าภายในปี 2554 • สร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยมีสัดส่วนผลผลิต SME : GDP ไม่ต่ำกว่า 40 %

  19. เป้าหมายด้านความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเป้าหมายด้านความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รักษาความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากร รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม • คุณภาพแหล่งน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้ และดีรวมกันไม่ต่ำกว่า 85 % • ให้มีพื้นที่ป่าไม้ไม่น้อยกว่า 33 % เป็นป่าอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า 18 % • คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน • รักษาพื้นที่เกษตรในเขตชลประทานไม่น้อยกว่า 31 ล้านไร่ • ของเสียอันตรายจากชุมชนและ อุตสาหกรรมได้รับการจัดการอย่าง ถูกต้อง 80% วางรากฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ • มีระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ระดับประเทศ 1 ระบบ • เกิดเครือข่ายชุมชนพึ่งตนเองจากการจัดการทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 1,500 ชุมชน เป้าหมายด้านธรรมาภิบาล สร้างองค์ความรู้ประชาธิปไตย มุ่งให้ธรรมาภิบาลของประเทศในทุกภาคส่วนดีขึ้น • สร้างองค์ความรู้ และสร้างกระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น • ภาครัฐ มีคะแนนภาพลักษณ์ความโปร่งใส 5.0 ในปี 2554/ระบบราชการมีขนาดเหมาะสมดำเนินงานคุ้มค่าเพิ่มขึ้น / ลดกำลังคนภาคราชการให้ได้ 10% ในปี 2554 • ธรรมาภิบาลภาคธุรกิจเอกชนเพิ่มขึ้น • องค์กรท้องถิ่นมีขีดความสามารถจัดเก็บรายได้มีอิสระพึ่งตัวเองเพิ่มขึ้น / • ภาคประชาชนเข้มแข็งรู้สิทธิหน้าที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา

  20. ยุทธศาสตร์ การพัฒนา สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ 5 เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลยั่งยืน พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  21. พัฒนาคนให้มีคุณธรรม นำความรู้เกิดภูมิคุ้มกัน เสริมสร้างสุขภาวะคนไทย ให้แข็งแรง พัฒนาระบบการรักษา ควบคู่กับการป้องกัน และฟื้นฟูร่างกาย/จิตใจส่งเสริมการบริโภค ที่ปลอดภัยใช้สมุนไพรภูมิปัญญาไทย ร่วมกับเทคโนโลยีสะอาด ในการผลิต ลดละเลิก พฤติกรรมเสี่ยง ต่อสุขภาพ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีจิตใจดีงาม มีสำนึกสาธารณะ มีสติปัญญา เพิ่มพูน ความรู้และทักษะให้แก่แรงงาน เร่งผลิต นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดการองค์ความรู้ ท้องถิ่นและสมัยใหม่ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เสริมสร้างคนไทยอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข สร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง สร้างหลักประกันที่มั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม ให้ประชาชน ด้านอาชีพ สวัสดิการสังคม การออม การดำรงชีวิตที่ปลอดภัยสงบสุข รวมทั้งขยายบริการสังคมแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส

  22. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ การบริหารจัดการกระบวนการ ชุมชนเข้มแข็ง ส่งเสริมการรวมกลุ่มเปิดพื้นที่สาธารณะจัดกิจกรรม เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ปรับปรุงกลไก กฎระเบียบ เพื่อสนับสนุนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง จัดการองค์ความรู้ชุมชนและระบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร และพัฒนาต่อยอดสร้างครอบครัว ระบบความสัมพันธ์ในชุมชน ให้มั่นคงเข้มแข็งเป็นภูมิคุ้มกัน เสริมสร้างศักยภาพ ของชุมชนอยู่ร่วมกับ ทรัพยากรอย่างเกื้อกูล สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน รวมกลุ่มในรูปสหกรณ์นำภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาสร้างสรรค์คุณค่าสินค้า และบริการ ให้สิทธิชุมชนร่วมบริหารจัดการ ทรัพยากรสร้างกลไกให้ชุมชน ปกป้องคุ้มครองทรัพยากร

  23. สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม และกระจายผลประโยชน์การพัฒนาอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมการแข่งขันการประกอบธุรกิจอย่างเสรีและเป็นธรรม กระจายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสู่ภูมิภาคอย่างสมดุล เป็นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการระบบการเงินฐานราก ดำเนินนโยบายการคลังเพื่อส่งเสริมการกระจายรายได้ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน สร้างภูมิคุ้มกันระบบเศรษฐกิจ ปรับโครงสร้างการผลิต บริหารเศรษฐกิจส่วนรวมให้มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมการออมเพิ่มทางเลือกระดมทุน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เร่งรัดใช้พลังงานทดแทน ปรับโครงสร้างภาคเกษตร/ อุตสาหกรรม/บริการ พัฒนาปัจจัยสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต

  24. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยังยืน มีการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษ จัดการองค์ความรู้ สร้างภูมิคุ้มกันสร้าง นวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ พัฒนาระบบฐานข้อมูล สร้างองค์ความรู้ ส่งเสริมสิทธิชุมชนร่วมจัดการดิน น้ำ ป่า แร่ พัฒนาระบบจัดการร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากร และแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี

  25. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ปฏิรูปกฎหมายกฎระเบียบ สร้างความ เข้มแข็งภาคประชาชน สร้างภาค ราชการให้มี ธรรมาภิบาล ให้ภาคีต่างๆ ร่วมเสนอแนะ/ตรากฎหมาย เพื่อประสานประโยชน์อย่างเสมอภาคเป็นธรรม สร้างเครือข่ายกลไกตรวจสอบภาคประชาชนให้เข้มแข็ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบส่วนรวม ลดการบังคับควบคุม พัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย ปลูกฝังจิตสำนึกคุณธรรม เพิ่มประสิทธิภาพกลไกตรวจสอบ ธรรมาภิบาล ภาคเอกชน กระจายอำนาจสู่ภูมิภาคท้องถิ่น/ชุมชน รักษาและเสริมสร้างความมั่นคง สร้างจิตสำนึกที่ซื่อสัตย์ ยุติธรรมเป็นธรรม รับผิดชอบต่อสังคม ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบ จัดบริการสาธารณะ ให้ประชาชนร่วมพัฒนาท้องถิ่นของตน พัฒนาศักยภาพ บทบาท ภารกิจ หน่วยงานด้านการป้องกันประเทศสร้างความมั่นคงของ ประชาชน/สังคม

  26. บทบาทภาคีพัฒนา ภาครัฐ การเมือง ดำเนินนโยบายต่อเนื่อง โปร่งใส เป็นธรรม ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เป็นแกนจัดทำนโยบายแผน ยุทธศาสตร์/สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ผลักดันสู่ปฏิบัติ ติดตามผล สนับสนุนข้อมูลวิชาการ เอกชน ประชาชน ดำเนินธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียและ สังคม สนับสนุนพัฒนาคุณภาพแรงงาน สร้างโอกาสการเรียนรู้ ร่วมลงทุนวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาและติดตามตรวจสอบ มีสำนึกความเป็นพลเมือง รับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น สื่อมวลชน วิชาการ เป็นสื่อกลางสะท้อนข้อเท็จจริง ความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างมี คุณภาพ สร้างสรรค์ ร่วมติดตามตรวจสอบและรณรงค์สร้างจิตสำนึกสาธารณะ สร้างความรู้ เป็นแหล่งข้อมูลให้สังคม จุดประกายความคิด สร้างความเข้าในทางเทคนิควิชาการ

  27. การพัฒนาคุณภาพคนฯ การสร้างความเข้มแข็งชุมชนฯ การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพฯ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลฯ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฯ ภาครัฐ การติดตาม ประเมิน ผล พัฒนา ระบบ ข้อมูล ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อ ชุมชน ครอบครัว การขับเคลื่อนแผนฯ 10 สู่การปฏิบัติ กำหนดแนวทางลงทุนสำคัญตามยุทธศาสตร์แผนฯ 10 แผนยุทธศาสตร์/ แผนปฏิบัติการระดับต่างๆ แผนองค์กร/สถาบัน ทบทวนปรับปรุง ยกร่างกฎหมาย ที่จำเป็น แผนชุมชน แนวทางดำรงวิถีชีวิตคน/ครอบครัว ศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้ เชิงลึกหนุนเสริมสร้างขับเคลื่อน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา

  28. บทบาทภาครัฐในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศในระยะแผนฯ 10 ตัวอย่าง • สร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ของคนทุกกลุ้ม พัฒนากำลังคนทุกระดับร่วมกับภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา สร้างปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ • ส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ส่งเสริมและผลักดันการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาอย่างเป็นระบบ • พัฒนาระบบสุขภาพอย่างครบวงจร มุ่งการส่งเสริม การป้องกัน การรักษา การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ • บริหารสังคมโดยการเชื่อมโยงแผนทุกระดับ ตั้งแต่แผนระดับชาติจนถึงแผนชุมชน บูรณาการกิจกรรมภายใต้วาระแห่งชาติ อาทิ ยาเสพติด ความยากจน พัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้อย่างมั่นคง • ปรับปรุงกฎ ระเบียบ เครื่องมือด้านการเงิน การคลัง เพื่อส่งเสริมธุรกิจเอกชนที่สร้างอาชีพในชุมชน • สร้างระบบเตือนภัยทางสังคมที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับชุมชน จังหวัด ระดับชาติ และนานาชาติ เพื่อเฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรมข้าชาติ การค้ามนุษย์ ยาเสพติด • กำหนดทิศทางนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ดำเนินไปอย่างมีเสถียรภาพและเพิ่มคุณภาพในการขยายตัว สร้างสภาวะแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาและการดำเนินธุรกิจ • กำกับและสนับสนุนการทำงานของภาคเอกชนให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันและการดำเนินงานตามแนวทางบรรษัทภิบาล • ดำเนินภารกิจในส่วนที่จำเป็นในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา และในกิจการที่ไม่ให้ผลตอบแทนในเชิงพาณิชย์แต่จำเป็นต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน

  29. รักษาฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ • สนับสนุนสิทธิภารดูแลทรัพยากรและพัฒนาองค์ความรู้แก่ชุมชน รวมทั้งกติกาสร้างความยุติธรรมในการใช้ประโยชน์ของภาคการผลิตและชุมชน • ปรับปรุงนโยบายสาธารณะให้สนับสนุนการประหยัดการใช้ทรัพยากรและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ใช้มาตรการทางเศรษฐกิจและสังคมจูงใจให้เกิดการประหยัดทรัพยากร พลังงาน และลดมลพิษ ทั้งด้านผู้ผลิตและผู้บริโภค • สร้างระบบฐานข้อมูลระดับชาติ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาร่วมกับชุมชน กำหนดมาตรการคุ้มครองทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพและสิทธิภูมิปัญญาท้องถิ่นจากการคุกคามภายนอก • รณรงค์สร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝึงจิตสำนึก ค่านิยมตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย วัฒนธรรมประชาธิปไตย และจิตสำนึกธรรมาภิบาล เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ • สนับสนุนสถาบันการศึกษา สถาบันวิชาการ สร้างองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน เยาวชน ให้เข้าใจสิทธิ หน้าที่ในระบอบประชาธิไตย และยึดถือปฏิบัติในวิภีชีวิต • เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเข้าถึงอำนาจการตัดสินใจ • พัฒนาระบบราชการให้มีประสิทธิภาพและโปร่งใสมากขึ้น • จัดทำแผนยุทธศาสตร์ภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ตอบสนองความต้องการของพื้นที่ • ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณให้ตอบสนอง/สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ จังหวัด

  30. ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี อาศัยความรอบรู้ การมีคุณธรรม และความเพียรเป็นเงื่อนไข • รู้จักพอประมาณ บริหารจัดการงานพัฒนา โดยคำนึงถึงศักยภาพและทุนที่มีอยู่ • โดยอาศัยความรอบรู้ ศึกษาหาความรู้ เรียนรู้จากประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติ ปรับแนวคิด วิธีการและกระบวนการพัฒนา เพื่อมุ่งสู่ความอยู่เย็นเป็นสุขของคนและสังคม • ใช้เหตุผลในการคิด ตัดสินใจและดำเนินการ มีการจัดการวางแผนติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ คำนึงถึงความประหยัด ประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร • มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีสำนึกรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน มีความโปร่งใสพร้อมถูกตรวจสอบ • มีความเพียร มุ่งมั่นตั้งใจทำงานให้ประสบผลสำเร็จ เพื่อประโยชน์สุขของชาติและประชาชน • สร้างภูมิคุ้มกัน โดยคำนึงถึงความเสี่ยง/การเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น จัดทำทางเลือกหรือแผนสำรอง พร้อมรับมือและปรับตัวอย่างเหมาะสม บทบาทภาครัฐ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ผนึกกำลังร่วมกับ ภาคส่วนอื่นๆ สร้างพันธมิตร

  31. บทบาทภาคเอกชนในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศในระยะแผนฯ 10 ตัวอย่าง ร่วมพัฒนาสมรรถนะทักษะแรงงาน และสร้างความมั่นคงในการทำงาน • พัฒนาคุณภาพแรงงาน สร้างกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการฝึกอบรมในสถานประกอบการ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์สู่การเรียนการสอนในระบบ และจัดทำระบบคุณวุฒิวิชาชีพ • สร้างสภาพแวดล้อมและความมั่นคงในการทำงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของแรงงาน • สนับสนุนสร้างโอกาสการมีงานทำให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ • ร่วมลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนากับภาครัฐเพื่อสร้างฐานเทคโนโลยีของตนเอง • สร้างองค์ความรู้ ยกระดับต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ขยายผล เชิงพาณิชย์ สนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน • สนับสนุนการลงทุน และสร้างโอกาสทางการตลาดสำหรับวิสาหกิจชุมชน การบ่มเพาะวิสาหกิจชุมชน การสร้างผู้ประกอบการใหม่ • ร่วมรับผิดชอบชุมชน สังคมรอบสถานประกอบการ จัดกิจกรรม อาสาสมัครเพื่อชุมชน

  32. สนับสนุนการผลิตและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรสนับสนุนการผลิตและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต • พัฒนากลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยการสนับสนุนพัฒนาเครือข่ายธุรกิจกิจในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพที่ต้องปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมให้เข้มแข็ง • พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของธุรกิจบริการที่โดดเด่นทางวัฒนธรรม ความเป็นไทยให้เป็นที่ยอมรับน่าเชื่อถือ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม บริการด้านโครงสร้างพื้นฐาน • ให้เอกชนมีส่วนร่วมลงทุน ร่วมดำเนินการกับภาครัฐในการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ • ผลิตสินค้าและบริการด้านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสะอาด ร่วมรักษาฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมการสร้างคุณค่าจากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพด้านนวัตกรรมและเทคนิคทางการตลาด • มีความยุติธรรมในการแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ • ให้สถาบันวิชาชีพ สมาคม กลุ่มชมรม มีบทบาทสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ธุรกิจเอกชนรู้ถึงประโยชน์การกำกับดูแลธุรกิจที่ดี และมีบทบาทร่วมสร้างขับเคลื่อนธรรมาภิบาลแก่ภาคธุรกิจทั่วไป ภาคธุรกิจเอกชนเข้มแข็งเป็นบรรษัทภิบาล • ให้ธุรกิจเอกชนทั้งที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และธุรกิจเอกชนทั่วไปเข้าร่วมในกระบวนการบรรษัทภิบาลมากขึ้น

  33. ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี อาศัยความรอบรู้ การมีคุณธรรม และความเพียรเป็นเงื่อนไข • รู้จักพอประมาณ ทำธุรกิจไม่เกินตัว ทำตาม ศักยภาพและความถนัดไม่ตามกระแส • โดยอาศัยความรอบรู้ ใช้หลักวิชาความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติ ปรับกระบวน การผลิตอาศัยฐานความรู้สู่การเพิ่มประสิทธิภาพ • มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ไม่โลภ รู้จักพอ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เอื่ออาทรต่อชุมชนสังคม • ใช้เหตุผลในการคิด ตัดสินใจและดำเนินการ มีการจัดการวางแผนอย่างเป็นระบบ มองระยะยาว • มีความเพียร ต่อการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ การปรับวิธีการทำงาน • สร้างภูมิคุ้มกัน โดยคำนึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น พร้อมรับมือและหาวิธีจัดการปรับตัวอย่างเหมาะสม บทบาทภาคเอกชน ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ผนึกกำลังร่วมกับ ภาคส่วนอื่นๆ สร้างพันธมิตร

  34. สรุปแผนฯ 10 สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน เทคโนโลยี 5 บริบท ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา ประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาและวิเคราะห์แนวโน้มสภาวะประเทศ 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยฯ พันธกิจ • พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ คุณธรรม รอบรู้เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ • เสริมสร้างเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพและเป็นธรรม • ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพสร้างความมั่นคงทางฐานทรัพยากรคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. • พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศ ให้เกิดธรรมาภิบาล สถานะของประเทศ เป้าหมาย ด้านสังคม : คุณภาพการศึกษา หลักประกันสุขภาพทั่วถึง คุณธรรม-จริยธรรมลดลง เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์การเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ • ด้านคุณภาพคน ความเข้มแข็งชุมชนและสังคม • ด้านเศรษฐกิจ • ด้านความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม • ด้านธรรมาภิบาล ด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจโตต่อเนื่อง ฐานการผลิตหลากหลาย พึ่งพาการนำเข้าสูง คนจนลดลง ด้านสิ่งแวดล้อม : ความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศน์เริ่มเสียสมดุล คุณภาพสิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม บทบาทภาคี ด้านธรรมาภิบาล : ภาคราชการปรับตัวทันสมัยมีประสิทธิภาพ มีการกระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น ภาครัฐ/ภาคการเมือง/ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อภาคชุมชนและประชาชน

  35. ส่วนที่ 2 ระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ

  36. การติดตามประเมินผลระดับต่างๆการติดตามประเมินผลระดับต่างๆ ระดับของแผน วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ตัวชี้วัด • เป็นเครื่องมือในการ • กำหนด/ชี้นำนโยบายสำคัญ • จัดสรรทรัพยากร • ปรับแผน • รายปี • ครึ่งแผน • สิ้นสุดแผน • วัดผลกระทบสุดท้าย • จากการพัฒนา • การวัดประสิทธิผล • ของยุทธศาสตร์ 1. แผนชาติ • เป็นแผนแบบองค์รวม/ • ประสานระหว่างหน่วยงาน • การประเมินผลเป็นเครื่องมือ • จัดเตรียมแผนงาน/โครงการ • กำหนดกลุ่มเป้าหมาย • จัดสรรทรัพยากร • ปรับแผนและการดำเนินงาน • รายปี • ครึ่งแผน • สิ้นสุดแผน • การวัดประสิทธิผล • การพัฒนาเฉพาะเรื่อง • ซึ่งจะนำไปสู่การวัด • ประสิทธิผลของ • ยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนเฉพาะเรื่อง แผนแม่บท 2. • เป็นเครื่องมือบริหารโครงการและองค์กร • ติดตามความก้าวหน้า • ปัญหา อุปสรรค • ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์/ • เป้าหมาย • ปรับแผนและการดำเนินงาน • ก่อนทำ โครงการ • ระหว่างทำ โครงการ • สิ้นสุด โครงการ • การวัดประสิทธิผล • การดำเนินงานของ • แผนงาน/โครงการ • การวัดประสิทธิผล • ขององค์กร • แผนปฏิบัติการ • แผนงาน • โครงการ 3.

  37. การติดตามผลโครงการ • การบริหารและการดำเนินโครงการ • ผลลัพธ์และผลกระทบจากโครงการ • การขยายผลของโครงการ • การทำรายงานติดตามผล

  38. การประเมินความเหมาะสมและการออกแบบโครงการการประเมินความเหมาะสมและการออกแบบโครงการ วงจรการติดตามและประเมินผลโครงการ ผลกระทบ ปัจจัยเข้า การดำเนินโครงการ การพัฒนาที่สมบูรณ์ การติดตามผลการใช้ปัจจัยเข้าและผลผลิตที่ได้ การประเมินผลกระทบของโครงการ การกำหนดและคัดเลือกโครงการ ผลสำเร็จ ผลผลิตที่ได้ การปฏิบัติและการบำรุงรักษา การดำเนินงานแล้วเสร็จ การดำเนินงานแล้วเสร็จ รายงานผลการดำเนินโครงการเมื่อแล้วเสร็จ การติดตามผลความยั่งยืนของโครงการ

  39. การติดตามและประเมินผลโครงการการติดตามและประเมินผลโครงการ การติดตามผล (Monitoring) เป็นการศึกษาความก้าวหน้าของการนำทรัพยากรโครงการมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อให้เกิดผล การประเมินผล (Evaluation) เป็นการวิเคราะห์ตรวจสอบเชิงลึก เพื่อวัดผลที่ได้รับจากโครงการ โดยเปรียบเทียบผลที่วัดได้จริงกับผลที่กำหนดไว้ ซึ่งจะทำให้ทราบว่าต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

  40. มุ่งเน้นที่การแก้ไขปัญหาหลักมุ่งเน้นที่การแก้ไขปัญหาหลัก ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ทบทวนการตัดสินใจ ปรับการใช้ทรัพยากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เรียนรู้จากประสบการณ์โครงการ รายงาน/สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการกำหนดนโยบายและการวางแผนทุกระดับทราบ ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ สร้างความเชื่อถือ ไว้วางใจ กำหนด Best practices ทำไมต้องติดตามประเมินผล ?

  41. ขั้นตอนการติดตามประเมินผลขั้นตอนการติดตามประเมินผล ขณะดำเนินโครงการ ก่อนเริ่มโครงการ หลังโครงการสิ้นสุด • ประเมินความเป็นไปได้ • จัดลำดับความสำคัญ • ติดตามงาน • บริหาร จัดการ โครงการ • ประเมินความสำเร็จ/ความล้มเหลวโดยเทียบกับเป้าหมาย/วัตถุประสงค์

  42. ขั้นตอน กระบวนการ และประเภทของการติดตามประเมินผลโครงการ การติดตามประเมินผล ขั้นตอน กระบวนการ ปัจจัยเข้าผลผลิตที่ได้ 1. การดำเนินโครงการ ติดตามผลการใช้ปัจจัยเข้าและผลผลิตที่ได้ รายงานการดำเนินโครงการเมื่อแล้วเสร็จ 2. การสิ้นสุดโครงการ ผลผลิตที่ได้ การติดตามผลความยั่งยืนของโครงการ 3. การปฏิบัติและ การบำรุงรักษา ผลผลิตที่ได้/ผลสำเร็จ ผลสำเร็จ/ผลกระทบ การประเมินผลกระทบของโครงการ 4. การพัฒนาที่สมบูรณ์

  43. ประเภทของการติดตามประเมินผลประเภทของการติดตามประเมินผล • การประเมินประสิทธิผล: การประเมินความสำเร็จของโครงการเทียบกับวัตถุประสงค์/เป้าหมายที่กำหนดไว้ • การประเมินผลกระทบ:เป็นการพยายามวัดสิ่งที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากผลของโครงการ สามารถประเมินผลได้หลายระดับ • การประเมินประสิทธิภาพ: เน้นการประเมินการใช้ปัจจัย/ทรัพยากรว่าได้ใช้อย่างเป็นประโยชน์สูงสุดหรือไม่ ลดลงอีกได้หรือไม่

  44. ประเภทของการติดตามประเมินผลประเภทของการติดตามประเมินผล • การประเมินกระบวนการ: ให้ความสำคัญกับคำถามว่าทำงานอย่างไรจึงบรรลุเป้าหมาย/ไม่บรรลุเป้าหมาย เน้นการวิเคราะห์วิธีบริหารจัดการ • การประเมินความเป็นเหตุและผล:เป็นการศึกษาลึกลงไปเพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ใช้ไปกับผลที่ได้ และตรวจสอบว่าความสัมพันธ์เป็นไปตามทฤษฎี/หลักการพื้นฐาน

  45. ระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานภาครัฐ หน่วยงานกลาง สศช. สลค. สตง. กพร. สคร. สงป. ติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ติดตามประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของรัฐ ผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ติดตามประเมินผลการพัฒนาประเทศ หน่วยปฏิบัติ : กระทรวง/กรม • ติดตามประเมินผลแผนกระทรวง • ติดตามประเมินผลยุทธศาสตร์เฉพาะเรื่อง • ติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ

  46. ภารกิจการติดตามประเมินผลของ สศช. พรบ. สศช. 2521 พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 ประเมินผล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ประเมินความ คุ้มค่าฯ ติดตามนโยบาย/ มาตรการสำคัญ รายงานการ ดำเนินงานของ รัฐต่อสาธารณะ รายปี

  47. การติดตามนโยบายและมาตรการสำคัญการติดตามนโยบายและมาตรการสำคัญ นโยบายเศรษฐกิจรากหญ้าและหลักประกันสังคม มาตรการเศรษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี 2548 โครงการ Fix it Center โครงการ SML • เพื่อเป็นการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบาย/มาตรการสำคัญ • เพื่อประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย/มาตรการสำคัญ

  48. การประเมินความคุ้มค่าการดำเนินภารกิจของภาครัฐการประเมินความคุ้มค่าการดำเนินภารกิจของภาครัฐ การประเมินความคุ้มค่า:การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพมีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งผลสำเร็จ และผลกระทบทางลบ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน

  49. หน่วยงาน ระดับกรม ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญต่อภารกิจ

  50. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ 1 2 3 กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่คาดหมาย

More Related