90 likes | 271 Views
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ. คำอธิบาย. การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของ หน่วยงาน ประเมินจากอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภทคือ 1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน
E N D
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย • การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของ • หน่วยงาน ประเมินจากอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ • 2 ประเภทคือ • 1)การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม • 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน • การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ไม่รวมเงิน • งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ • (ไม่รวมในส่วนที่ได้รับโอนเงินหลัง 1 กรกฎาคม 2557) • โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหาร • การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
คำอธิบาย (ต่อ) • การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการ • เบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม/รายจ่ายลงทุน • ของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่หน่วยงาน • ได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี • (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนใน • รายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอน • เปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ • ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองตัวชี้วัดนี้
เกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน
เกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 2 หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน
เป้าหมายอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมเป้าหมายอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม • ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ 22 • ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 46 • ไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 70 • ไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 95 • เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 82 ณ สิ้นไตรมาส ที่ 4
หลักฐานอ้างอิง • ข้อมูลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบ • การบริหารการเงินการคลังภาครัฐ • แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) • รายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ • (งบประมาณเหลือจ่าย) และไม่ได้นำเงินดังกล่าว • ไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่น ๆ