170 likes | 570 Views
เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การผลิตและการแข่งขัน. ผู้สอน นายคำรณ ลือชา โรงเรียนยางฮอมวิทยาคม สพม.36. การผลิต( Production ). การผลิต คือ คือ การทำให้เกิดสินค้าและบริการเพื่อสอนงความต้องการของมนุษย์
E N D
เศรษฐศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5เรื่อง การผลิตและการแข่งขัน ผู้สอน นายคำรณ ลือชา โรงเรียนยางฮอมวิทยาคม สพม.36
การผลิต(Production) การผลิตคือ คือ การทำให้เกิดสินค้าและบริการเพื่อสอนงความต้องการของมนุษย์ คือ การใช้แรงงาน(ทั้งกายและสมอง)ร่วมกับปัจจัยการผลิตอื่นๆ เช่น ที่ดิน เครื่องจักร วัตถุดิบฯ
ภาวะการเงินที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจ ผลกระทบ วิธีแก้ปัญหา - เพิ่มปริมาณเงินหรือกู้เงินมาหมุนเวียนเพิ่มอาจนำไปสู่ภาวะเงินเฟ้อหรือเงินฝืดก็ได้ ภาวะเงินตึงคือภาวะที่กระแสการเงินชะงักชะงัน มีความต้องการเงินเพื่อลงทุนเพิ่มแต่ปริมาณเงินน้อย
ผลผลิตที่ได้จากการผลิตผลผลิตที่ได้จากการผลิต มี 2 รูปแบบ 1.สินค้า(Goods) ผลผลิตที่มีรูปร่างจับต้องได้เช่นอาหาร เสื้อผ้าฯ 2.บริการ(Services) การให้ความสะดวกสบายและความพึงพอใจแก่ผู้บริโภคในด้านต่างๆ เช่นการบริการของหน่วยงานรัฐ
ทรัพยากรในการผลิตหรือปัจจัยการผลิต(Factors of Production) หมายถึง สิ่งที่นำมาใช้ในการผลิตจนเกิดเป็นสินค้าหรือบริการ มี 4 ประเภท 1.ที่ดิน(Land) ผืนดินและทรัพยากรธรรมชาติที่มีส่วนช่วยในการผลิต 2. แรงงาน(Labour) คือแรงกายและแรงใจ สติปัญญาของมนุษย์ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการผลิต
ประเภทของอุปสงค์ 3. ทุน (Capital) คือ สิ่งที่นำมาใช้ในการผลิตหรือบริการโดยตรง เช่น เครื่องมือต่างๆ เครื่องยนต์ฯลฯ 4. การประกอบการ(Entrepreneurship) 1.อุปสงค์เฉพาะบุคคล คือ อุปสงค์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 2.อุปสงค์รวมตลาด คือ อุปสงค์รวมของผู้บริโภคทุกคนที่ต้องการซื้อสินค้าชนิดนั้น
ตารางกราฟเส้นอุปสงค์ (Demand)
อุปทาน(Supply) อุปทานคือ 1.อุปทาน คือ ความต้องการหรือความสามารถในการผลิตสินค้าอย่างใด อย่างหนึ่งของผู้ผลิต 2.อุปทาน คือ ปริมาณของสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ต้องการเสนอขาย ณ ระดับราคาหนึ่ง
กฎของอุปทาน(Law of Supply) 1.ราคาสินค้าและบริการต่ำอุปทานของผู้ผลิตจะต่ำ 2.ราคาสินค้าและบริการสูงอุปทานของผู้ผลิตจะสูง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุปทานของผู้ผลิตปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุปทานของผู้ผลิต 2.การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนการผลิต เช่น ต้นทุน สูงขึ้น ปริมาณการผลิตอาจจะลดลง 1.การปรับปรุงเทคนิคการผลิต เช่น นำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต 3.การเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ 4. การเปลี่ยนแปลงภาษีหรือข้อจำกัดทางการค้า 5.จำนวนผู้ผลิต ถ้าสินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งมีจำนวนผู้ผลิตมากรายปริมาณสินค้าชนิดนั้นในตลาดจึงสูง
2.มีผลกำไรจากการผลิต องค์ประกอบของอุปทาน 3.การวางแผนที่จะผลิตสินค้าของผู้ผลิต ประเภทของอุปทาน 1.ความสามารถในการผลิต ผู้ผลิตต้องมีปัจจัยผลิต 1.อุปทานเฉพาะบุคคล คือ อุปทานของผู้ผลิตรายเดียว 2.อุปทานรวมตลาด คือ อุปทานรวมของผู้ขายทุกรายในตลาด
ตารางกราฟเส้นอุปทาน (Supply)
ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ 1.ราคาสินค้าสูงอุปทานของผู้ผลิตสูง แต่อุปสงค์ของผู้บริโภคต่ำ 2.ราคาสินค้าต่ำอุปทานของผู้ผลิตต่ำ แต่อุปสงค์ของผู้บริโภคสูง
ดังนั้นจึงต้องหาราคาดุลยภาพ คือ ราคาที่อุปสงค์และอุปทานเท่ากันพอดีเป็นราคาที่ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคมีความต้องการตรงกัน และพอใจที่จะซื้อและขายซึ่งกันและกัน * ถ้าผลิตปริมาณน้อยเกินไป สินค้าจะขาดแคลน * ถ้าผลิตปริมาณมากเกินไป สินค้าจะเหลือ ดังนั้น จึงต้องหาปริมาณดุลยภาพ ให้มีความพอดีทั้งผู้ผลิต และผู้บริโภค
จุดดุลยภาพ คือ จุดที่ผู้บริโภคและผู้ผลิตพอใจจะซื้อและขายซึ่งกันและกัน ในปริมาณและราคาที่ตรงกัน
คำถาม เลือกตอบ 1 ข้อ1. แต่เดิมน้ำตาลทรายราคากิโลกรัมละ 15 บาท ต่อมาขึ้นราคาเป็นกิโลกรัมละ 25 บาท ตามกฎของอุปสงค์(Law of Demand) จะเป็นอย่างไร2. หมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีความต้องการบริโภคข้าวสารเพิ่มขึ้นจากเดิม เดือนละ 60 กระสอบ กลายเป็น 100 กระสอบ แต่พ่อค้าไม่สามารถนำข้าวสารมาจำหน่ายให้เพียงพอแก่ความต้องการได้ตามกฎของอุปสงค์จะเป็นอย่างไร3. ตามกฎของอุปทาน (Law of Supply)ถ้าหากราคาของรองเท้าผ้าใบนักเรียนยี่ห้อหนึ่งในตลาดเพิ่มขึ้นจากคู่ละ 100 บาท เป็น 150 บาท แต่ก็ยังขายได้ดีอยู่ กรณีนี้อุปทานของผู้ผลิตจะเป็นอย่างไร