1 / 10

โดย นางทิพวรรณ โชติสิงห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

การผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอน เรื่อง การปฐมพยาบาลบาดแผลและข้อเคล็ด. โดย นางทิพวรรณ โชติสิงห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.

nhu
Download Presentation

โดย นางทิพวรรณ โชติสิงห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอน เรื่อง การปฐมพยาบาลบาดแผลและข้อเคล็ด โดย นางทิพวรรณ โชติสิงห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

  2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาระที่ 1 การเจริญเติบและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะ ในการดำเนินชีวิต สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ แลการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง

  3. สื่อการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การปฐมพยาบาลบาดแผลและข้อเคล็ด วัตถุประสงค์การผลิตสื่อ เพื่อใช้สอนนักเรียน ม.6 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อให้นักเรียนมีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดังนี้ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจวิธีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ 2. เพื่อให้รู้วิธีในการปฐมพยาบาลบาดแผล ข้อเคล็ด ข้อแพลง 3. เพื่อให้นักเรียนสามารถปฏิบัติการปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บข้อเคล็ด ข้อแพลง บาดแผลได้ 4. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปช่วยเหลือผู้อื่นและถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้

  4. การผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอน ประเภทสื่อ :สื่อประสม แผ่นใบความรู้เรื่องการทำแผล,การปฐมพยาบาลข้อเคล็ด ข้อแพลง และอุปกรณ์ทำแผล,หุ่นจำลองแขนและขา ถุงมือยาง ผ้ายืด ผ้าสามเหลี่ยม ระยะเวลาในการใช้สื่อ : 1 คาบเรียน ( 50 นาที) ขั้นตอนการผลิตสื่อ 1. กำหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และมาตรฐานการเรียนรู้ 2. จัดทำใบความรู้เรื่องการทำแผล การปฐมพยาบาลข้อเคล็ด ข้อแพลง โดยถ่ายรูปจริงจากนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุสาธิตการปฐมพยาบาล 3. จัดทำหุ่นแขนและขาจำลอง โดยใช้ยางพาราหล่อรูปจากแขนและขาจริง ,ถุงมือยาง 4. เตรียมอุปกรณ์การทำแผล ผ้ายืด ผ้าสามเหลี่ยม และหุ่นจำลองแขน ขา ถุงมือยาง ขั้นตอนการใช้สื่อ 1. ใช้ประกอบการบรรยายในวิชาสุขศึกษา ให้แก่นักเรียน ม.6 โดยต้องเตรียมใบความรู้ ,อุปกรณ์ทำแผล ,ผ้ายืด ผ้าสามเหลี่ยม และหุ่นจำลองแขน ขา ถุงมือยาง 2. สาธิตการปฐมพยาบาลและให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลบาดแผล ข้อเคล็ดและแพลง

  5. การผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอน เหตุผลที่เลือกใช้สื่อ 1. สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนได้ทำให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการปฐมพยาบาลบาดแผล ข้อเคล็ด ข้อแพลงได้มากขึ้น 2. ครูสามารถทำได้เอง ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก 3. นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและได้ทำกิจกรรมในการถ่ายทอดแก่ผู้อื่นได้ วิธีการประเมินการใช้สื่อ โดยการตรวจสอบเนื้อหาสาระจากหัวหน้ากลุ่มสาระฯ และจากนักเรียนที่ฝึกปฏิบัติในเรื่องดังนี้ 1. ตอบสนองวัตถุประสงค์การเรียน เนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่าย และทันสมัย 2. ภาพประกอบทำให้เข้าใจมากขึ้นและกระตุ้นให้น่าสนใจ 3. สื่อหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติได้เสมือนจริงและทำให้มีทักษะมากขึ้น 4. นำสื่อดังกล่าวออกให้แก่สาธารณชนได้เรียนรู้และประเมินจากผู้ทดลองเรียน

  6. ใบความรู้

  7. หุ่นจำลองข้อมือ ข้อเท้า หุ่นจำลองข้อมือ ข้อเท้าใช้ฝึกพันผ้าข้อมือเคล็ด ข้อเท้าแพลง

  8. บรรยากาศการใช้สื่อฝึกปฏิบัติในการเรียนการสอนบรรยากาศการใช้สื่อฝึกปฏิบัติในการเรียนการสอน สไลด์ภาพต่อ

  9. บรรยากาศการใช้สื่อกับผู้ทดลองเรียนบรรยากาศการใช้สื่อกับผู้ทดลองเรียน สไลด์ภาพต่อ

  10. สวัสดี

More Related