1.4k likes | 2.74k Views
การพัสดุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น. ขอบเขตการบรรยาย. ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุที่ อปท. ถือปฏิบัติ หนังสือสั่งการ/หนังสือเวียนเกี่ยวกับงานพัสดุ แนวทางปฏิบัติงานพัสดุ ตัวอย่างแนวคำพิพากษาและคำสั่งของศาลที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ
E N D
การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำนักบริหารการคลังท้องถิ่นการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำนักบริหารการคลังท้องถิ่น
ขอบเขตการบรรยาย • ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุที่ อปท. ถือปฏิบัติ • หนังสือสั่งการ/หนังสือเวียนเกี่ยวกับงานพัสดุ • แนวทางปฏิบัติงานพัสดุ • ตัวอย่างแนวคำพิพากษาและคำสั่งของศาลที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ • หลักเกณฑ์และวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
ระเบียบพัสดุท้องถิ่น ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535(ฉ.9 พ.ศ. 2553)
การซื้อ - การจ้าง การจ้าง การจ้างทำของ การรับขน การจ้างเหมาบริการ ยกเว้น • การจ้างแรงงาน (จ้างลูกจ้าง) • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การซื้อ การซื้อพัสดุทุกชนิด (รวมติดตั้ง/ทดลอง/บริการที่เกี่ยวเนื่อง)
วิธีการจัดหา • วิธีตกลงราคาไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท + เงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนดวงเงิน + เงื่อนไข • * วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) เป็นไปตามประกาศของ สถ.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
รายงานขอซื้อหรือขอจ้างรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง
คณะกรรมการ ตกลงราคา - คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง สอบราคา 1. คกก.เปิดซองสอบราคา 2. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ประกวดราคา 1. คกก.รับและเปิดซองประกวดราคา 2. คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา 3. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
คณะกรรมการ วิธีพิเศษ 1. คกก.จัดซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ 2. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง วิธีกรณีพิเศษ - คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ •จากข้าราชการส่วนท้องถิ่น/ข้าราชการอื่น - ประธานกรรมการ 1 คน - กรรมการ อย่างน้อย 2 คน * ให้คำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้รับแต่งตั้ง •จากบุคคลอื่น (ใครก็ได้) กรณีจำเป็น/เพื่อประโยชน์ - กรรมการร่วม ไม่เกิน 2 คน
หลักการแต่งตั้งกรรมการหลักการแต่งตั้งกรรมการ * ข้อสังเกตและข้อห้าม • ห้าม กก.รับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กก.พิจารณาผล การประกวดราคา • ห้าม กก.เปิดซองสอบราคา หรือ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา เป็น กก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง • นายก/รองนายก อปท. สมาชิกสภาท้องถิ่น ลูกจ้าง พนักงานราชการ ฯลฯ ร่วมเป็นกรรมการได้ ในกรณีจำเป็น/ เพื่อประโยชน์ (บุคคลอื่น) • กรณีแต่งตั้งข้าราชการอื่น ต้องให้ ผวจ. นอ. หรือหัวหน้าหน่วยงานนั้นเห็นชอบก่อน
หลักการแต่งตั้งกรรมการหลักการแต่งตั้งกรรมการ * บุคคลที่ไม่ควรแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ เพราะขัดกับหลักการควบคุมภายในที่ดี • ไม่ควรแต่งตั้ง หน.ส่วนการคลัง เป็นกก.เปิดซองสอบราคา หรือ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา • ไม่ควรแต่งตั้ง หน.ส่วนโยธา เป็นทั้งผู้ควบคุมงาน และ กก.ตรวจการจ้าง • ไม่ควรแต่งตั้ง จนท.ตรวจสอบภายในเป็น กก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ต้องใช้มติเอกฉันท์
วิธีตกลงราคา รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ เสนอสั่งซื้อ/จ้าง ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ สั่งซื้อ / จ้าง
วิธีตกลงราคา ข้อยกเว้น กรณีจำเป็นเร่งด่วน ซึ่งไม่ได้คาดหมาย ไว้ก่อน และดำเนินการตามปกติไม่ทัน วิธีการ - เจ้าหน้าที่พัสดุ ดำเนินการไปก่อน - ทำรายงานขอความเห็นชอบภายหลัง - ใช้รายงานเป็นหลักฐานในการตรวจรับ
วิธีสอบราคา ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขาย/ผู้รับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด และต้องไม่น้อยกว่า 5 ราย - ประกาศเผยแพร่ ดังนี้ 1. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ ที่ทำการ อปท. 2. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่กลาง 3. ลงประกาศในเว็บไซต์ของ อปท. /จังหวัด (ถ้ามี) 4. ลงประกาศในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง จัดทำประกาศ เผยแพร่เอกสาร
กระบวนการสอบราคา ส่งประกาศ/ปิดประกาศ 10 วัน+ วันเปิดซอง วันยื่นซอง
หน้าที่ของ คกก.เปิดซองสอบราคา • ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ผู้จัดการ/ผู้ถือหุ้น) • ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ • เปิดซองใบเสนอราคา • ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา • ตรวจสอบคุณลักษณะของพัสดุหรืองานจ้าง • คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ราคาต่ำสุด • ราคาเท่ากันหลายราย - ยื่นซองใหม่ • คุณสมบัติถูกต้องรายเดียว - ดำเนินการต่อได้
กรณีเกินวงเงิน • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงิน หรือ • สูงกว่าวงเงินไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผล (กรณีเกิน 10%) ให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มวงเงิน ลดรายการที่ไม่จำเป็น • หรือยกเลิกการสอบราคา
วิธีประกวดราคา รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ เห็นชอบ - ประกาศเผยแพร่ ดังนี้ 1. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ ที่ทำการ อปท. 2. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่กลาง 3. ลงประกาศในเว็บไซต์ของ อปท. (ถ้ามี) 4. ลงประกาศในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง 5. ประกาศวิทยุกระจายเสียงและหรือ นสพ. 6. ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์ + อสมท. 7. ส่งให้ สตง. ภูมิภาค 8. ส่งให้จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ปิดประกาศ ที่ศาลากลาง/ที่ทำการฯ 9. ส่งให้ผู้มีอาชีพฯ /โฆษณาวิธีอื่น (ตามที่ เห็นควร) • - ประกาศเผยแพร่ 20 วัน • ให้หรือขายแบบ 10 วัน • เผื่อเวลาคำนวณ • ประกาศเพิ่มเติม (พิมพ์ผิด/พิมพ์ตก) รวมอยู่ใน 20 วัน คณะกรรมการรับและเปิดซอง- รับซอง - ตรวจหลักประกันซอง - รับเอกสารหลักฐาน - เปิดซอง,อ่านราคา,ลงชื่อในเอกสาร
คณะกรรมการพิจารณาผลฯ - ตรวจสอบคุณสมบัติ / เงื่อนไข - คัดเลือกสิ่งของ / งานจ้าง - พิจารณาราคา * เกณฑ์ปกติ ราคาต่ำสุด * เท่ากันหลายราย ยื่นซองใหม่ * ถูกต้องรายเดียว ยกเลิก * ไม่มีผู้เสนอราคา ยกเลิก * มีแต่ไม่ถูกต้อง ยกเลิก วิธีประกวดราคา เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญก่อนทำสัญญา - ยกเลิก กรณียื่น 2 ซอง:ซองราคา+ซองเทคนิค - คำนึงถึงเทคโนโลยีข้อกำหนดพิเศษ - ข้อเสนอไม่อยู่ในฐานเดียวกัน- การพิจารณาเทคนิค ให้มีผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ด้านละ 1 คน ร่วมเป็นกรรมการ
กระบวนการประกวดราคา เผื่อเวลา คำนวณราคา ให้/ขายแบบ 10 วัน+ วันยื่นซอง วันเปิดซอง ประกาศ 20 วัน+
การซื้อโดยวิธีพิเศษ รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ
การจ้างโดยวิธีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ
วิธีกรณีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ ถ้าไม่เกิน 100,000 ขออนุมัติหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข1. เป็นผู้ผลิต/ทำงานจ้างนั้นเอง + นายกรัฐมนตรีอนุมัติ 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีให้ซื้อ/จ้าง(เฉพาะข้อ 2. ให้รวมถึงหน่วยงานที่มี กม./มติ ครม. กำหนดด้วย)
แลกเปลี่ยน * ยกเลิกการแลกเปลี่ยน ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง
รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป 1.1 ตัวอย่างสัญญาที่ มท. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่างเสียเปรียบ/ไม่รัดกุม (ส่ง สนง.อัยการสูงสุด) 1.3 ร่างใหม่ (ส่ง สนง.อัยการสูงสุด) 2. ลดรูป ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/จ้าง) 2.1 ตกลงราคา2.2 ส่งพัสดุครบถ้วนภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ ตามข้อ 17,18 (1)-(3) 3. ไม่มีรูปแบบ 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคาฉุกเฉิน ตามข้อ 32 ว.2
สัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) • ใช้ได้กับงานก่อสร้างทุกประเภท (ยกเว้น งานก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน)1 • ใช้ทั้งกรณีค่างานเพิ่มขึ้นและลดลง (ปกติ +/-42มติ ครม. +/-23) • ต้องระบุค่า Kไว้ในประกาศและสัญญา รวมทั้งสูตรค่า K • เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างที่จะต้องเรียกร้องภายในกำหนดเวลา กรณีค่างานเพิ่มขึ้น หรือเป็นหน้าที่ของผู้ว่าจ้าง กรณีค่างานลดลง • 1 หนังสือ สถ. ที่ มท 0808.2/ว 1372 ลว. 14 ก.ค. 52 • 2 หนังสือสำนักเลขาธิการ ครม. ที่ นร 0203/ว 109 ลว. 24 ส.ค. 32 • 3 หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0714/ว 100 ลว. 13 ส.ค. 51
การแก้ไขสัญญา หรือข้อตกลง หลักการ : ลงนามแล้วแก้ไขไม่ได้ เหตุที่แก้ไขได้◊ ไม่ทำให้ท้องถิ่นเสียประโยชน์ ◊ เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น ผู้มีอำนาจแก้ไข ผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผวจ. กรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ วิธีการ : จัดทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม : เพิ่ม/ลด วงเงิน ระยะเวลา ให้ตกลงไปพร้อมกัน : ถ้าเป็นงานเทคนิค/งานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง ต้องได้รับการรับรอง จากวิศวกร สถาปนิก : กรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ถ้าเพิ่มวงเงิน ให้เสนอจังหวัด เพื่อ สถ. พิจารณาขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อน
การปรับ ผู้มีอำนาจกำหนดค่าปรับ = ผู้บริหารท้องถิ่น
วิธีการปรับ 1. แจ้งสงวนสิทธิการปรับเมื่อครบกำหนดสัญญา 2. นับถัดจากวันครบกำหนดถึงวันส่งมอบ 3. คิดอัตราตามสัญญา /ข้อตกลง4. ของเป็นชุด ปรับทั้งชุด5. ของคิดราคารวมค่าติดตั้งทดลอง ปรับตามราคาทั้งหมด
การงดหรือลดค่าปรับ / การขยายเวลา เหตุ 1. เกิดจากความผิดของท้องถิ่น 2. เหตุสุดวิสัย 3. พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ระยะเวลา คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุ ภายใน 15 วัน นับแต่เหตุสิ้นสุดลง (ยกเว้น เหตุตามข้อ 1) อำนาจผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัด (ตามวงเงิน)
การลงโทษผู้ทิ้งงาน • หลักเกณฑ์ : • ผู้ได้รับการคัดเลือก แต่ไม่ไปทำสัญญาภายในกำหนดเวลา • คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา • ไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องของพัสดุที่ซื้อ/จ้าง ภายในกำหนดเวลา • การดำเนินการ : 1. ผู้บริหารท้องถิ่นรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ 2. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้บุคคลดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน 3. แจ้งเวียนชื่อบุคคลดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน • ผลของการเป็นผู้ทิ้งงาน : ห้าม อปท. ก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน นับแต่ได้รับการแจ้งเวียนชื่อ
ตามตัวอย่าง มท. การลงทะเบียน ถูกต้อง / เรียบร้อย / ครบถ้วนปลอดภัย / ใช้สะดวก การเก็บรักษา การเบิกจ่าย ผู้เบิก หัวหน้าหน่วยใช้ ผู้สั่งจ่าย หัวหน้าควบคุม การควบคุม การตรวจสอบ ประจำปี (คกก.) / ระหว่างปี (ชำรุด)
การจำหน่าย เกิน 1 แสนบาท ขายทอดตลาด ไม่เกิน 1 แสนบาท หรือขายให้ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ / ท้องถิ่นองค์กรสาธารณกุศล ขายโดยวิธีตกลงราคา ถ้าไม่ได้ผลให้นำวิธีเกี่ยวกับการซื้อมาใช้
โอน ให้โอนได้เฉพาะส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ องค์กรสาธารณกุศล โดยมีหลักฐานการส่งมอบไว้ต่อกัน แปรสภาพ หรือ ทำลาย ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ท้องถิ่นกำหนด
สโตนเฮนจ์ โฮปเวลล์ หนังสือสั่งการเกี่ยวกับงานพัสดุ
การเบิกค่าตอบแทนกรรมการการเบิกค่าตอบแทนกรรมการ
การเบิกค่าตอบแทนกรรมการการเบิกค่าตอบแทนกรรมการ หนังสือ มท. ที่ มท 0808.4/ว 3652 ลว. 17 พ.ย. 53 • หลักเกณฑ์ • ถ้ามีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ตรวจการจ้าง/ควบคุมงาน เบิกไม่ได้ • แม้ไม่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งดังกล่าว แต่หากได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวเป็นประจำ ก็เบิกไม่ได้ • ปฏิบัติงานจริงวันไหน ก็เบิกได้เฉพาะวันนั้น • เบิกได้ไม่เกินคนละ 1 ครั้ง ต่อวัน ถ้าวันเดียวกันมีหลายโครงการ เบิกได้เฉพาะโครงการที่ได้ค่าตอบแทนสูงสุดเพียงโครงการเดียว • ค่าตอบแทนนี้ตัดค่าตอบแทนอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน เช่น ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ยกเว้นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • กรณีบุคคลภายนอกมาเป็นกรรมการตรวจการจ้าง ให้เบิกเพิ่มอีก 1 เท่า
การจัดหาครุภัณฑ์/รถยนต์ของ อปท. นส.มท. ที่ มท 0808.2/ว1989 ลว. 22 มิ.ย. 52 • รถส่วนกลาง / ครุภัณฑ์ • ขนาดและราคาให้จัดหาตามบัญชีมาตรฐานครุภัณฑ์ • ถ้าขนาดและ/หรือราคานอกเหนือบัญชี ต้องชี้แจงเหตุผลความจำเป็น ในคำชี้แจงประกอบงบประมาณ + จัดหาตามราคาท้องถิ่น/ ที่เคยจัดหาอย่างประหยัด • รถประจำตำแหน่ง • ไม่เกิน 2,400 ซีซี ราคาและคุณลักษณะอื่นๆ ให้เป็นไปตามบัญชี • รถรับรอง • ห้ามจัดซื้อรถรับรอง (มติ ครม. 8 ก.พ. 43)
การจำหน่ายพัสดุโดยวิธีขายทอดตลาดการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีขายทอดตลาด หนังสือ มท. ที่ มท 0808.2/ว 3794 ลว. 17 พ.ย. 52 ระเบียบพัสดุ ข้อ 150 (1) ขายทอดตลาดตามหลักเกณฑ์ของ ป.พ.พ. มาตรา 509 - 517 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นใช้ดุลพินิจประเมินราคาทรัพย์สินก่อนขายทอดตลาด โดยใช้เกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1. ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด /ราคาตามสภาพพัสดุ ณ เวลาขาย 2. ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน /สภาพ สถานที่ตั้ง ของพัสดุ กรณีที่ไม่มีจำหน่ายทั่วไป
การซื้อวัสดุครุภัณฑ์ให้หน่วยราชการอื่นยืม หนังสือ มท. ที่ มท 0808.2/ว 2804 ลว. 4 ก.ย. 51 ระเบียบพัสดุ ข้อ 139 - 143 หลักเกณฑ์ : มีพัสดุไว้ใช้งานอยู่แล้ว ให้หน่วยงานอื่นยืม เพื่อช่วยเหลือสนับสนุน ปัญหาที่พบ : ไม่มีพัสดุอยู่ก่อนหน้า แต่จัดซื้อใหม่ แล้วนำไปให้หน่วยงานอื่นยืม ซื้อพัสดุมาแล้ว โอนพัสดุให้หน่วยงานอื่นทันที ซื้อพัสดุตามที่หน่วยงานอื่นร้องขอ โดยไม่มี กม. /ระเบียบ กำหนดให้กระทำได้
VAT นส.ที่ กค (กวพ) 0421.3/04915 ลว 26 ก.พ.51 (1) สตภ.ที่ 2 ท้วงอบต.หนองบัวว่า คกก.เปิดซองสอบราคาไม่นำราคากลางมาหัก vat ก่อนเปรียบเทียบราคา ทำให้ราคาจ้างสูงกว่าราคากลางที่หัก vat แล้ว ราคากลาง = ค่าก่อสร้างตามหลักเกณฑ์ที่ ครม.กำหนด เป็นราคาที่ราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการกำไรมากเกินกว่าที่ควร และไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถทำได้
นส.ที่ กค (กวพ) 0421.3/04915 ลว 26 ก.พ.51 (2) ดังนั้น ราคากลางจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ได้จากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ของระเบียบที่เกี่ยวข้อง คือ ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 20 ดังนั้น หากผู้เสนอราคารายต่ำสุด ได้เสนอราคาถูกต้องตามรายละเอียดในเอกสารการสอบราคา โดยรวมภาษีทุกชนิดแล้ว ราชการ ก็สามารถรับราคากับผู้เสนอราคารายนั้นได้ โดยไม่จำเป็นต้องทำการเปรียบเทียบกับราคากลางหลังหัก vatกับผู้เสนอราคารายอื่นอีก สรุป - ไม่ต้องหัก vat จากราคาที่ผู้เสนอราคาได้เสนอ (แต่ สตง. ให้หัก) * ข้อสังเกต - แต่ต้องหัก vat กรณีที่ทำสัญญากับบุคคลธรรมดา
การจัดซื้อครุภัณฑ์เก่า • เงื่อนไข • มีความจำเป็น - งบประมาณไม่พอ หรือ หาซื้อครุภัณฑ์ใหม่ไม่ได้ หรือ ต้องการใช้ครุภัณฑ์เก่าเท่านั้น • ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้งาน • ควรมีประกันความชำรุดบกพร่อง อย่างน้อย 6 เดือน • หาอะไหล่ได้ง่าย • ให้ขอทำความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทย ตามระเบียบฯ ข้อ 4
หนังสือ มท. ด่วนมาก ที่ มท 0804/ว 2269 ลว. 4 ก.ค. 46 • การดัดแปลงพัสดุ • อปท. เป็นเจ้าของทรัพย์สิน • ต่อเติม ดัดแปลง หรือรื้อถอน • ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ
ซื้อกระดาษสำนักงานมีราคากลางหรือไม่ซื้อกระดาษสำนักงานมีราคากลางหรือไม่ • เคยมี แต่ปัจจุบันยกเลิกแล้ว (มติ ครม. 29 พ.ค. 50) • ให้ซื้อได้โดยเสรี (ตามราคาท้องตลาด) • หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0421.3/ 16781 ลว. 26 มิ.ย. 51
การพิจารณาคุณสมบัติของ Joint Venture ถ้า JV (กิจการร่วมค้า) ได้มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ใช้ผลงานของนิติบุคคลรายไหนก็ได้ ถ้าไม่ได้จดฯ ใหม่ ใช้ผลงานของผู้ค้าหลัก หนังสือ มท. ที่ มท 0313.4/ 3054 ลว. 24 ต.ค. 43
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุ