1 / 35

แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach)

แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach). วิชาหลักและกระบวนการบริหารจัดการศึกษา ( 1066113 ). แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม. เสนอ ดร. สุร วุฒิ ยัญญ ลักษณ์. จัดทำโดย นางรินจง อุทัย เลขที่ 4 รหัสนักศึกษา 52024114054

nhung
Download Presentation

แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม(Behavioral Approach) วิชาหลักและกระบวนการบริหารจัดการศึกษา (1066113) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

  2. แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรมแนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม • เสนอ • ดร.สุรวุฒิ ยัญญลักษณ์ • จัดทำโดย • นางรินจง อุทัย เลขที่ 4 รหัสนักศึกษา 52024114054 • นายวิเชียร ดอนแรม เลขที่ 13 รหัสนักศึกษา 52024114063 • นางทัศนีย์ ชิโนดม เลขที่ 1 6 รหัสนักศึกษา 52024114066 • นางแสงดาว นาคำภา เลขที่ 2 5 รหัสนักศึกษา 52024114075 • นางบุปผา ตันตะราวงศา เลขที่ 39 รหัสนักศึกษา 52024114089

  3. การเปลี่ยนแปลงของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของการบริหาร แนวคิดของ Elton Mayo 3 1 แนวคิดของ Hugo Munsterberg ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีดั้งเดิมกับทฤษฎีเชิงพฤติกรรม 4 2 แนวคิดของ Abraham Maslow 5 แนวคิดของ Douglas McGragor 6 สารบัญ/Contents

  4. การเปลี่ยนแปลงของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของการบริหาร • แนวคิดของการบริหารองค์การมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ • 1. เปลี่ยนแปลงจากทฤษฎีดั้งเดิม เป็น ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม • 2. เหตุผลในการเปลี่ยน คือ วิธีการศึกษาการบริหารแบบเดิมไม่สามารถให้คำตอบได้ทั้งหมดในการแก้ปัญหาการบริหารองค์การ • 3. เกิดขึ้นจากการคิดหาวิธีที่ว่าดีที่สุดในบริหารองค์การ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลับสารบัญ

  5. ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม ทฤษฎีดั้งเดิม เห็นว่า “คน” คือองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในการบริหาร เน้นโครงสร้าง กฎระเบียบ ในการบริหารอย่างชัดเจน ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีดั้งเดิมกับทฤษฎีเชิงพฤติกรรม กลับสารบัญ

  6. 1. แนวคิดของ Elton Mayo • Hawthorne Studies เป็นการทดลองวิจัยในโรงงาน Western Electric Company ในปี ค.ศ. 1927-1932 โดยทีมงาน Hawthorne ภาย ใต้การนำของ Mayo ประกอบด้วยการวิจัยทดลอง 3 เรื่องใหญ่ : • ศึกษาสภาพห้องทำงาน (Room Studies) • การสัมภาษณ์ (Interview Studies) • การสังเกตการณ์ (Observation Studies)

  7. ขั้นตอนแรกเลือกประเภทงานที่เป็นผลผลิตของคนมากกว่าเครื่องจักรขั้นตอนแรกเลือกประเภทงานที่เป็นผลผลิตของคนมากกว่าเครื่องจักร ขั้นตอนที่สองแบ่งขั้นตอนการทดลองออกเป็น 13 ขั้นตอนดังนี้ ศึกษาสภาพของห้องทำงาน (ใช้ระยะเวลา 2 6 เดือน) 1. แนวคิดของ Elton Mayo Elton Mayo : Hawthorne Studies

  8. 1. แนวคิดของ Elton Mayo ศึกษาสภาพของห้องทำงาน ขั้นที่ 1คนงานหญิง 6 คนมาประกอบชิ้นส่วนในห้องทดลอง โดยได้แอบบันทึกผลการทำงานก่อนหน้านี้ไว้แล้ว ขั้นที่ 2 ปล่อยให้ทำงานนาน 5 อาทิตย์ ขั้นที่ 3 จัดระบบให้ค่าจ้างใหม่สำหรับคนงานหญิงทั้ง 6 คนนี้ ขั้นที่ 4-6 ให้หญิงทั้ง 6 มีเวลาในการพักผ่อน

  9. 1. แนวคิดของ Elton Mayo ศึกษาสภาพของห้องทำงาน ขั้นที่ 7 เลี้ยงน้ำชาในระหว่างพักเช้า / บ่าย ขั้นที่ 8-9 ลดระยะเวลาการทำงานต่อวันลง ขั้นที่ 10 ย้อนกลับไปขั้น 7 ใหม่ ขั้นที่ 11 ให้หยุดงานวันเสาร์ ขั้นที่ 12 ย้อนกลับไปขั้น 1- 3 ใหม่ ขั้นที่ 13 ย้อนกลับไปขั้น 7-10 ใหม่

  10. 1. แนวคิดของ Elton Mayo • การสัมภาษณ์ (Interview Studies) • คนงานจำนวน 21,000 คนของโรงงาน Western Electric Company • โดยเทคนิคการสัมภาษณ์ ทำให้ทราบว่าโครงสร้างองค์การแบบไม่เป็นทางการมีบทบาทและทำหน้าที่เป็นกลไกทางสังคม ต่อการเรียนรู้และการทำงานของคนงานรวมถึงมีบทบาทเป็นตัวกำหนดคุณภาพของผลงานของคนงานด้วย • การสัมภาษณ์นี้ สามารถประมวลปัญหาในการปฏิบัติงาน และนำไปสู่การจัดให้มีโครงการให้คำแนะนำปรึกษาแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในโรงงานอีกหลายแห่ง

  11. 1. แนวคิดของ Elton Mayo • การสังเกต (Observation Studies) • เพื่อสังเกตการปฏิบัติงานของกลุ่มคนงานพันขดลวดโทรศัพท์ โดยใช้ระบบการตอบแทนตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ คือทำงานได้มากได้ค่าตอบแทนมาก ผลที่ได้ก็คือ ไม่ได้เป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการตามที่ทฤษฏีดั้งเดิมกล่าวอ้าง • การศึกษาโดยการสังเกตนี้ ช่วยให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมาก

  12. 1. แนวคิดของ Elton Mayo ผลการศึกษาที่ Hawthorne สถานการณ์ทางสังคมในที่ทำงาน Social situation at work ประวัติส่วนบุคคลPersonal history ทัศนคติ (Attitude) การตอบสนองResponse การเปลี่ยนแปลงChange

  13. 1. แนวคิดของ Elton Mayo • สรุปผลการศึกษา Hawthorne • ปัจจัยด้านปทัสถานทางสังคม เป็นตัวกำหนดปริมาณผลผลิตไม่ใช้ปัจจัยด้านกายภาพ • ความคิดที่ว่าคนเห็นแก่ตัว ต้องการเงินค่าตอบแทนมากๆเป็นการมองแคบๆ • พฤติกรรมของคนงานถูกกำหนดโดยความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม • สนับสนุนให้มีการทำวิจัยด้านผู้นำต่างๆ ผู้นำต้องเปิดโอกาสให้คน ในองค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ กลับสารบัญ

  14. 2. แนวคิดของ Hugo Munsterberg • มันสเตอร์เบิร์ก เป็นนักจิตวิทยาของสถาบันฝึกอบรมวิลเลียมเจมส์ (William James) • นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้เชิญมันสเตอร์เบิร์กไปสอนที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเป็นที่ที่ได้ทดลองประยุกต์ใช้ทฤษฎีเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ประกอบด้วย การรับรู้ และความเอาใจใส่

  15. 2. แนวคิดของ Hugo Munsterberg • ให้ความสนใจกับการประยุกต์จิตวิทยามาใช้ในการแก้ปัญหาในการทำงาน ในหนังสือ Psychology and Industrial Efficiency (1913) ได้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ การคัดเลือกคนงาน การออกแบบตำแหน่งงาน และการใช้จิตวิทยาในการขาย • ศึกษาเกี่ยวกับการตัดสินใจทำให้คนขับรถบรรทุกมีความปลอดภัย โดยศึกษาอย่างเป็นระบบของการทำงาน การพัฒนา ห้องปฏิบัติการที่ประดิษฐ์รถบรรทุก และรวมทั้งผู้ปฏิบัติการที่ดีสามารถเข้าใจพร้อมกันทั้งหมดเกี่ยวกับความก้าวหน้าของรถยนต์

  16. 2. แนวคิดของ Hugo Munsterberg สรุปแนวคิดของ Hugo Munsterberg 1. การศึกษาลักษณะของงานและมอบหมายหน้าที่ตรงลักษณะของแต่ละบุคคล • ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาอุตสาหกรรม ซึ่งใช้หลักจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ ดังนี้ 2. การกำหนดสภาวะจิตใจที่เหมาะสมกับพนักงานเพื่อให้สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ 3. การแนะนำกลยุทธ์ที่จะทำให้พนักงานปฏิบัติตาม

  17. 2. แนวคิดของ Hugo Munsterberg สรุปแนวคิดของ Hugo Munsterberg • แนวคิดของ มันสเตอร์เบิร์ก นั้น ได้นำไปสู่การศึกษาพฤติกรรมของคนในที่ทำงานหรือจิตวิทยาอุตสาหกรรม ซึ่งยังเป็นวิชาที่ใช้สอนในมหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน กลับสารบัญ

  18. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow • ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (The Need–Hierarchy Conception of Human Motivation) ของ มาสโลว์พบว่า บุคคลมีสิ่งกระตุ้นให้ต้องสนองตามลำดับความต้องการของมนุษย์ 5 ประการ โดยลำดับ ดังนี้

  19. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow • 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs) • เป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นได้ชัดที่สุด เป็นความต้องการที่ช่วยการดำรงชีวิต ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ำดื่ม ออกซิเจน การพักผ่อนนอนหลับ ความต้องการทางเพศ ความต้องการความอบอุ่น ซึ่งในขั้นนี้จะกระตุ้นให้เกิดความต้องการในขั้นที่สูงขึ้น

  20. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow • 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) • เมื่อความต้องการทางด้านร่างกายได้รับความพึงพอใจแล้วบุคคลก็จะพัฒนาการไปสู่ขั้นต่อไป คือ ความต้องการความปลอดภัยหรือความรู้สึกมั่นคงนั่นเอง โดยต้องการให้มีคนที่คอยปกป้องคุ้มครองและเป็นบุคคลที่มีความเข้มแข็งซึ่งสามารถจะพึ่งพาอาศัยได้

  21. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow • 3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ (Belongingness and love needs) • ความต้องการในขั้นนี้จะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการทางด้านร่างกาย และความต้องการความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว บุคคลจะต้องการได้รับความรักและความเป็นเจ้าของโดยการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวหรือกับผู้อื่น

  22. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow 4. ความต้องการได้รับความนับถือยกย่อง (Esteem needs) เมื่อเกิดความพึงพอใจจากแรงผลักดันทั้ง 3 ขั้นที่ผ่านมาแล้วก็จะมีความต้องการในขั้นต่อไปมาแทนที่ กล่าวคือมนุษย์ต้องการที่จะได้รับความนับถือยกย่องออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้

  23. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow 4.1 ความต้องการนับถือตนเอง (Self-Respect) คือ ความต้องการมีอำนาจ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความแข็งแรง มีความสามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น และมีความเป็นอิสระ 4.2 ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือจากผู้อื่น (Esteem from others) คือ ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสียงเป็นที่กล่าวขาน และเป็นที่ชื่นชมยินดี

  24. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow • 5. ความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs) ถ้าความต้องการลำดับขั้นที่ผ่านมาเกิดความพึงพอใจอย่างมีประสิทธิภาพ ความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริงก็จะเกิดขึ้น โดยความต้องการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริงนั้นเป็นความปรารถนาในทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งบุคคลสามารถจะได้รับอย่างเหมาะสม บุคคลที่ประสบผลสำเร็จในขั้นสูงสุดนี้จะใช้พลังอย่างเต็มที่ในสิ่งที่ท้าทายความสามารถและศักยภาพและมีความปรารถนาที่จะปรับปรุงตนเอง

  25. 3. แนวคิดของ Abraham Maslow สรุปแนวคิดของ Abraham Maslow มาสโลว์ ได้สรุปว่าการไม่เข้าใจตนเองอย่างแท้จริงเกิดจากความพยายามที่ไม่ถูกต้องของการแสวงหาความมั่นคงปลอดภัย เช่น การที่บุคคลสร้างความรู้สึกให้ผู้อื่นเกิดความพึงพอใจตนโดยพยายามหลีกเลี่ยงหรือขจัดข้อผิดพลาดต่างๆ ของตน บุคคลเช่นนี้จึงมีแนวโน้มที่จะพิทักษ์ความมั่นคงปลอดภัยของตน โดยแสดงพฤติกรรมในอดีตที่เคยประสบผลสำเร็จ แสวงหาความอบอุ่น และสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้อื่น ซึ่งลักษณะเช่นนี้ย่อมขัดขวางวิถีทางที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง กลับสารบัญ

  26. 4. แนวคิดของ Douglas McGragor • เกิดในปี1906 ที่เมือง Detroit ในรัฐ Michigan • ได้รับปริญญาด้านจิตวิทยาการทดลอง จากมหาวิทยาลัย Harvard ในปี1935 และสอนที่มหาวิทยาลัยนี้เป็นเวลา 2 ปี • จากนั้นมาสอนที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซท หรือ MIT ฐานะอาจารย์สอนวิชาจิตวิทยา

  27. 4. แนวคิดของ Douglas McGragor • จากตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นทำให้ย้ายเข้ามาเป็นศาสตราจารย์สอนทางจิตวิทยา และเป็นผู้บริหารระดับสูง ในส่วนของแผนกความสัมพันธ์ทางอุตสาหกรรมของ MIT • และในที่สุดก็ได้เป็นนักจิตวิทยาสังคม • ภายหลังได้เป็นประธานของวิทยาลัยAntitioch • ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักจากการเข้าไปเชื่อมโยงกับทฤษฎี Y ที่เขาได้กล่าวไว้ในหนังสือเรื่อง “Managing the Human Side of Enterprise” • มีบทความสำคัญที่เล่าเกี่ยวกับงานอาชีพ เรื่อง“Leadership and Motivation” • และในปี 1964 ได้ใช้เวลาเขียนต้นฉบับซึ่งถูกตีพิมพ์หลังจากเขาตายในเดือนตุลาคมชื่อเรื่อง “The Professional Manager”

  28. 2 3 1 พนักงานมีความทะเยอทะยานน้อยและไม่ชอบความรับผิดชอบ พนักงานต้องการทำงานให้น้อยที่สุด ดังนั้น ผู้บริหารต้องควบคุม สั่งการ จูงใจ ให้รางวัล หรือลงโทษเพื่อให้บุคคลทำงานให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ โดยทั่วไปพนักงานจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 4. แนวคิดของ Douglas McGragor • ฐานคติของทฤษฎี X

  29. 2 5 3 1 4 พนักงานมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาและบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ พนักงานมีศักยภาพในการพัฒนาตัวเองซึ่งโดยทั่วไปยังไม่ได้ประโยชน์เต็มที่ในองค์การส่วนใหญ่ พนักงานเต็มใจที่จะค้นหาและยอมรับความรับผิดชอบ โดยธรรมชาติพนักงานชอบทำงาน พนักงานจะยอมรับจุดมุ่งหมายขององค์การ เพื่อสามารถใช้ความพยายามและบรรลุจุดมุ่งหมายส่วนตัว 4. แนวคิดของ Douglas McGragor • ฐานคติของทฤษฎี Y

  30. ทฤษฎี X ทฤษฎี Y 4. แนวคิดของ Douglas McGragor ข้อมูลสมมติฐานเกี่ยวกับคน • เกียจคร้าน • พยายามหลีกเลี่ยงไม่ทำงาน • จะบิดพลิ้วเมื่อมีโอกาส • ใช้วิธีควบคุมงานใกล้ชิด • คอยแต่จะจับผิด • ไม่ให้ทั้งเสรีภาพและโอกาส • รักงาน • พยายามเรียนรู้และปรับปรุงงาน • ใฝ่หาความรับผิดชอบ • ให้เสรีภาพแก่คนงาน • ให้โอกาสทดลองริเริ่ม • และทำงานด้วยตนเอง • ควบคุมห่างๆโดยกว้างๆ

  31. การประยุกต์ใช้ Theory X และTheory Y 4. แนวคิดของ Douglas McGragor ควบคุมอย่างใกล้ชิด Closed Control 1. ถ้าลูกน้องเป็นคนลักษณะ X มากกว่า Y

  32. การประยุกต์ใช้ Theory X และTheory Y 4. แนวคิดของ Douglas McGragor ให้อิสระควบคุมตนเอง และมีส่วนร่วมในการทำงาน(Participation) 2. ถ้าลูกน้องเป็นคนลักษณะ Y มากกว่าX กลับสารบัญ

  33. บรรณนานุกรม คินิชิ, แองจิโล และวิลเลี่ยมส์ เบรน. (ม.ป.ป.). หลักการจัดการ. แปลจาก Management a practical introduction โดย บุตรี จารุโรจน์ และคนอื่นๆ. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล. ดวงใจ ปีเย่. (2549). Scope of public administration.(ออนไลน์). แหล่งที่มา : ttp://mpa1.awardspace.com/downloads/Scope%205.ppt. วันที่สืบค้น 27 มีนาคม 2553. ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม. (2553). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.mpanonthaburi2.com/pa701/PA701_01/2.ppt. วันที่สืบค้น 27 มีนาคม 2553.

  34. บรรณนานุกรม (ต่อ) ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ ของ Maslow.(2550). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.bloggang.com /mainblog.php?id=wbj&month=07-12- 2007&group=29&gblog=3. วันที่สืบค้น 27 มีนาคม 2553. บทที่ 1 แนวความคิดเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม. (2553). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://rbu.rbru.ac.th/~nopdol/Leadership/template/ lesson1/leader1.ppt. วันที่สืบค้น 27 มีนาคม 2553. ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี : มนตรี. ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ และสมศักดิ์ วานิชยาภรณ์. (2545). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ : Diamond in Business World.

  35. สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้ที่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้ที่ 203.113.115.60/~pcc29 Thank You !

More Related