180 likes | 550 Views
บทที่ 7 อัลเคน และไซโคลอัลเคน (Alkanes and Cycloalkanes). 7.1 โครงสร้างทั่วไป สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะลิฟาติกชนิดอิ่มตัว ( Aliphatic Saturated HC) อะตอมคาร์บอนเกิดไฮบริดไดซ์แบบ sp 3 พันธะโคเวเลนท์ชนิดพันธะเดี่ยว สูตรทั่วไป
E N D
บทที่ 7 อัลเคน และไซโคลอัลเคน(Alkanes and Cycloalkanes) 7.1 โครงสร้างทั่วไป • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะลิฟาติกชนิดอิ่มตัว ( Aliphatic Saturated HC) • อะตอมคาร์บอนเกิดไฮบริดไดซ์แบบsp3พันธะโคเวเลนท์ชนิดพันธะเดี่ยว สูตรทั่วไป CnH2n+2 เมื่อ n = 1,2,3.(เลขจำนวนเต็ม)= อะลิฟาติกอัลเคน ( อัลเคน) CnH2n เมื่อ n = 3,4(เลขจำนวนเต็ม) = อะลิไซคลิกอัลเคน (ไซโคลอัลเคน) • สมบัติทางกายภาพ • สมบัติทางเคมี คล้ายคลึงกัน
CH3CH3-CH2-CH2-CH2CH2-CH3 CH3-C-CH2CH3 CH3 จุดเดือด 68.9 o C จุดเดือด 49.7 o Cโมเลกุลโซ่ตรงมีจุดเดือดสูงกว่ากิ่งแขนง สมบัติทางกายภาพ ไอโซเมอร์มีสมบัติทางกายภาพ แตกต่างกัน เช่นจุดหลอมเหลว จุดเดือด
ไอโซเมอร์ (Isomer) ไอโซเมอร์เชิงโครงสร้าง ( Structural isomer)สูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน
7.2 แหล่งที่พบในธรรมชาติ เกิดจากการสลายตัวของสารอินทรีย์ที่ทับถมอยู่ใต้ดินเป็นเวลาหลายล้านปี 7.2.1 พืช-สัตว์ เป็นแหล่งสำคัญ พืช : น้ำตาล เซลลูโลส : น้ำมัน เอสเทอร์ สัตว์ : โปรตีน ไขมัน : กรดไขมัน ขี้ผึ้ง
7.2.2.1 ปิโตรเลียม (petroleum) มี 3 สถานะ ก๊าซธรรมชาติ (natural gas)น้ำมันดิบ ( crude oil)แอสฟัลท์ (asphalt) • ปิโตรเลียม (petroleum)- ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนตั้ง แต่1–50 ตัว- ลักษณะเป็นของเหลวมีสีน้ำตาล- ดำ จุดเดือดต่างกัน - นำมากลั่นลำดับส่วนจะได้อัลเคนชนิดต่างๆ เช่น แก็สธรรมชาติ น้ำมันเบนซีน น้ำมันก๊าด หรือน้ำมันหล่อลื่น
7.2.2.2 หินน้ำมัน (oil shale) เกิดจากการทับถมของซากพืช –ซากสัตว์ในหนองบึง หรือทะเลสาบเป็นเวลาล้านปีเปลี่ยนไปเป็นเคโรเจน (Kerogen) และเกิดการรวมตัวกับตะกอนเกิดเป็นหินน้ำมัน หินน้ำมัน อบ น้ำมันดิบ ความร้อน กลั่นลำดับส่วน ผลิตภัณฑ์
7.2.2.3 ถ่านหิน (coal) เกิดจากการทับถมของต้นไม้บริเวณที่ลุ่มหรือหนองน้ำที่มีออกซิเจนน้อยทำให้เกิดการย่อยสลายได้น้อยและเมื่อเกิดการรวมตัวกับตะกอนดิน ทรายทับถมเป็นเวลานานจะแปรสภาพเป็นถ่านหิน แบ่งออกได้ 5 ชนิด • - พีท( peat) มี C 60 % • - ลิกไนท์(lignite) มี C 65.7 % • - สับไบทูนัส (subbituminous) มี C 75% • - ไบทูนัส ( bituminous) มี C 82.6% • - แอนทราไซท์ (antracite) มี C 93.5 %
27.3 การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC • ชื่อระบบตามระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) • ชื่อระบบสามัญ (Common name) • Systematic • ชื่อระบบIUPAC = ชื่อหลัก(คำนำหน้า) + คำลงท้าย ( จำนวนคาร์บอนในโครงสร้างหลัก) ( ชนิดสารอินทรีย์) • โครงสร้างเป็นวง เติม Cyclo + ชื่อหลัก(คำนำหน้า) + คำลงท้าย
โซ่หลัก(parent chain) 2 C คำนำหน้า ( prefix) เรียกว่า Eth – คำลงท้าย (suffix) C-C (single bond)เรียกว่า -ane • ชื่อระบบ IUPAC : Ethane pimporn 1/2551
โซ่หลัก(parent chain) 4 C คำนำหน้า ( prefix) เรียกว่า But – คำลงท้าย (suffix) C-C (single bond)เรียกว่า -ane • หมู่เกาะ(substituented gr.)ที่ตำแหน่งที่ 2 ของโซ่หลัก ( C2) 2 หมู่ • หมู่เกาะ1 C เรียกว่า Methyl มี 2 หมู่ = dimethyl • ระบุตำแหน่งหมู่เกาะ (position of substituented gr.)C 2 ( 2,2) IUPAC name = substituented gr. + parent chain dimethyl butane • ชื่อระบบ IUPAC = 2,2 -Dimethylbutane pimporn 1/2551
โซ่หลัก(parent chain) 5 C • คำนำหน้า ( prefix) เรียกว่า pent – โครงสร้างเป็นวง (cyclic HC): cyclopent- • คำลงท้าย (suffix) C-C (single bond)เรียกว่า -ane • ชื่อระบบ IUPAC = Cyclopentane (IUPAC name) pimporn 1/2551
โซ่หลัก(parent chain) 6 C มีโครงสร้างเป็นวง (cyclic HC) • คำนำหน้า ( prefix) เรียกว่า cyclohex – • คำลงท้าย (suffix) C-C (single bond)เรียกว่า -ane • หมู่เกาะ(substituented gr.) 2 หมู่ • ที่ตำแหน่งที่ 1 ของโซ่หลักหมู่เกาะ 2 C เรียกว่า ethyl • ที่ตำแหน่งที่ 3 ของโซ่หลักหมู่เกาะ 1 C เรียกว่า methyl • ระบุตำแหน่งหมู่เกาะ C 2 ( 1,3) ชื่อระบบ IUPAC = 1-Ethyl-3-methylcyclohexane pimporn 1/2551
Cylopropyl-2-propylcyclobutane Pentane 2-Methylbutane 2,4,6- Trimethylheptane
7.4 ปฏิกิริยาของอัลเคน 7.4.1 ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) • การแทนที่อะตอมไฮโดรเจนในโมเลกุลอัลเคนด้วย อะตอมฮาโลเจน (halogen atom) • ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของฮาโลเจน F2>>Br2 > Cl2 > I2
กลไกของปฏิกิริยาแบบมีขั้นตอนตัวกลางระหว่างปฏิกิริยาเกิดอนุมูลอิสระ (Free radical) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนคือ 1. ขั้นเริ่มต้น (initiation) 2. ขั้นแพร่ (propagation) 3. ขั้นสิ้นสุด ( termination)
ชื่อปฏิกิริยาฮาโลจิเนชัน (Halogenation) CH4 + Cl2แสงCH3Cl + CH2Cl2 + CHCl3 + CCl4 + HCl (g) Propane + Br2light Bromopropane + 2-Bromopropane + HBr (g) ( สีน้ำตาลแดง)( สารละลายใส) ( Red – Brown)(Colourless) hexane + Cl2 light ……?……… + HCl
7.4.2 ปฏิกิริยาออกซิเดชันของอัลเคน (Oxidation of alkanes : Combustion) • ปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิสูง CnH(2n+2) + O2 ( exess) heat nCO2 + (n+1)H2O เกิดการสันดาปไม่ที่สมบูรณ์ 2CH3-CH2-CH3 + 7O2 heat6CO+8 H2O pimporn 1/2551
เกิดการสันดาปที่สมบูรณ์เกิดการสันดาปที่สมบูรณ์ alkane + O2( excess) high temp. CO2 + H2O propane + 5O2( excess) heat 3CO2 + 4H2O ethane + 31/2O2 ( excess) heat 2CO2 + 3H2O