250 likes | 387 Views
พลวัตขà¸à¸‡à¹€à¸¨à¸£à¸©à¸à¸à¸´à¸ˆà¹à¸¥à¸°à¸ªà¸´à¹ˆà¸‡à¹à¸§à¸”ล้à¸à¸¡à¹‚ลภ: ผลà¸à¸£à¸°à¸—บต่à¸à¹€à¸à¹€à¸Šà¸µà¸¢. ดร.ณรงค์ชัย à¸à¸±à¸„รเศรณี สถาบันวิจัยนโยบายเศรษà¸à¸à¸´à¸ˆà¸à¸²à¸£à¸„ลัง บลจ. เà¸à¹‡à¸¡à¹€à¸à¸Ÿà¸‹à¸µ จำà¸à¸±à¸” (มหาชน). นัà¸à¸šà¸£à¸´à¸«à¸²à¸£à¸à¸²à¸£à¸„ลังรุ่นที่ 3 14 มีนาคม 2555. พลวัตขà¸à¸‡à¹€à¸¨à¸£à¸©à¸à¸à¸´à¸ˆà¹à¸¥à¸°à¸ªà¸´à¹ˆà¸‡à¹à¸§à¸”ล้à¸à¸¡à¹‚ลภ: ผลà¸à¸£à¸°à¸—บต่à¸à¹€à¸à¹€à¸Šà¸µà¸¢. à¸à¸²à¸£à¸à¹‰à¸²à¸§à¸‚ึ้นมาขà¸à¸‡à¹€à¸à¹€à¸Šà¸µà¸¢ (1).
E N D
พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) นักบริหารการคลังรุ่นที่ 3 14 มีนาคม 2555
พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย
การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (2) ปัจจัยที่ทำให้บทบาทของเอเชียยิ่งเด่นชัดขึ้น
การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (3) วิกฤติในสหรัฐ และยุโรป + การขยายตัวของเอเชียทำให้บทบาทของเอเชียในเศรษฐกิจโลกเพิ่มขึ้น
การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (4) อัตราการขยายตัวของ GDP รายไตรมาส 6
การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (5) 7 ที่มา: WEO Database, IMF
การเตรียมตัวของเอเชียในการเป็นกลุ่มอำนาจเศรษฐกิจใหม่การเตรียมตัวของเอเชียในการเป็นกลุ่มอำนาจเศรษฐกิจใหม่ • กรอบความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย • เอเชียเริ่มมีความร่วมมือระหว่างกันตั้งแต่ทศวรรษ 1970 และเร่งตัวขึ้นตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา • ปัจจุบันกรอบความร่วมมือต่างๆ ในเอเชียมีทั้งในมิติความลึกและกว้าง และยังขยายออกไปนอกภูมิภาค รวมอเมริกาเหนือโดยผ่าน APEC และ ยุโรป ผ่าน ASEM • เอเชียกับภูมิภาคอื่น --- APEC, ASEM • ความร่วมมือในเอเชียที่มี ASEAN เป็นศูนย์กลาง --- ASEAN (AEC), ASEAN + 3, ASEAN + 6, ACD, IMT-GT, BIMSTEC, ACMECS • ความร่วมมือทางการเงิน --- CMIM, ABMI, CGIF (Credit Guarantee and Investment Facilities 8
Asian Configuration/ East Asia Architecture BIMSTEC ACMECS IMT-GT Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI
กรอบความร่วมมือของ ASEAN และ ASEAN + AEC in 2015 APEC 2020 FTAAP 2008 ASEAN Charter in effect AKFTA effective Jan 10 2007 CEBU Concord ASEAN Community by 2015 CEPEA/ EAC? AJCEP effective Jun 09 AANZFTA effective Jan 10 1998,AIA ACFTA effective Oct 03 1996,AFAS AIFTA signed Aug 09 Trade in goods effective Jan 10 1993,AFTA ABMI – Aug 03 ASEAN +6 CMI – May 00 1977,PTA ASEAN +3 1999 EAS 2005 ASEAN+6 2010 SEATO 1954-1977 ASEAN -10 1967 -1999 APEC 1993 ASEM 1995 2003 Proposed EAFTA ASEAN + 8
ASEAN (1) AEC จะทำให้ ASEAN เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ด้วยกลไก เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี ปรับปรุง AFTA เป็น ATIGA (ASEAN Trade in Goods Agreement) Political-Security Community เคลื่อนย้ายบริการเสรี เร่งรัดการเปิดเสรีตาม AFAS ASEAN Community ปรับปรุง AIA เป็น ACIA (ASEAN Comprehensive Investment agreement) เพื่อเป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี Socio-Cultural Community Economic Community จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (Mutual Recognition Arrangement: MRAs) ในวิชาชีพต่างๆ เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ดำเนินงานตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลัง ASEAN ---ยังไม่มีกรอบที่ชัดเจน เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
ASEAN (2) • ATICA --- ยกเลิกมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี และให้มีการอำนวยความสะดวกทางการค้า • AFAS --- การลด/ยกเลิก กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการ • ยกเลิกข้อจำกัดการให้บริการข้ามแดน ทั้ง Mode 1 Cross border supply และ Mode 2 Consumption abroad • ผูกพันการเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้นักลงทุนต่างชาติ (Mode 3 Commercial presence) ในสาขา • ACIA ---เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม และอำนายความสะดวกด้านการลงทุนใน ASEAN ด้วยหลัก National treatment ใน 5 สาขา คือ การเกษตร, การประมง, ป่าไม้, เหมืองแร่ และ ภาคการผลิต 12
ASEAN (3) • MRAs --- ปัจจุบัน ASEAN มี MRAs ใน 7 สาขาวิชาชีพ คือ วิศวกรรม, สถาปัตยกรรม, แพทย์, ทันตแพทย์, การพยาบาล , บัญชี และ การสำรวจ • หลักการขั้นต้นของ MRAs ในสาขาวิชาชีพต่างๆ คือ • การเปิดให้ผู้ประกอบวิชาชีพที่มีใบอนุญาต/คุณสมบัติ สามารถจดทะเบียน/ขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ • ผู้ประกอบวิชาชีพต่างชาติที่ขอรับใบอนุญาต/จดทะเบียน ต้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงานกำกับดูแลของประเทศ ASEAN ที่รับเข้าทำงาน • ผู้ประกอบวิชาชีพต่างชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียนภายในของประเทศ ASEAN นั้นๆ • ปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการนำ MRAs ไปสู่การปฏิบัติจริง
ASEAN + 3 (1) • ASEAN +3 --- เวทีความร่วมมือระหว่าง ASEAN กับ 3 คู่เจรจา คือ จีน ญี่ปุ่น และ เกาหลี เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 1999 • พ.ย. 2007 --- มี Cooperation Work Plan (2007 -2017) เป็น แผนแม่บทในการเร่งรัดความร่วมมือในกรอบ ASEAN +3 โดยมี 5 สาขาสำคัญคือ • การเมืองและความมั่นคง • เศรษฐกิจและการเงิน • พลังงาน, สิ่งแวดล้อม, การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การพัฒนาสังคม วัฒนธรรม • กลไกสนับสนุนและติดตามการดำเนินงาน
มาตรการริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative: CMI) เริ่มปี 2000 พ.ค. 2009 --- ปรับ CMI ซึ่งเป็นข้อตกลงทวิภาคี เป็นChiang Mai Initiative Multilateralisation (CMIM) ซึ่งเป็นสัญญาความตกลงพหุภาคีในการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน+3 โดยความตกลงได้มีผลบังคับใช้แล้ว เมื่อ 24 มี.ค. 2010 องค์ประกอบหลักของ CMIM วัตถุประสงค์ -- (1) เป็นกลไกความร่วมมือทางการเงินในภูมิภาค (Regional Financing Arrangement) ในการเสริมสภาพคล่องระหว่างกันในกรณีที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงินหรือขาดสภาพคล่องในระยะสั้น (2) ส่วนเสริมความช่วยเหลือด้านการเงินที่ได้รับจากองค์กรการเงินระหว่างประเทศ เงินกองทุน = 120 พันล้าน US$ มาจากเงินสมทบจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 20%และกลุ่มประเทศบวกสาม ในสัดส่วน 80% วงเงินเบิกถอนความช่วยเหลือ เท่ากับวงเงินสมทบเข้ากองทุน x borrowing multiplier ของประเทศนั้นๆ ASEAN + 3 (2)
ASEAN + 3 (3) Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI
กลไกการตัดสินใจของ CMIM ASEAN + 3 (4) Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI
มาตรการริเริ่มพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asia Bond Market Initiative : ABMI) จัดตั้งในปี 2003 พ.ค. 2008 --- เห็นชอบ New ABMI Roadmap เพื่อพัฒนาตลาดพันธบัตรสกุลเงินท้องถิ่นในภูมิภาคให้มีความสะดวกและเข้าถึงได้ง่ายทั้งสำหรับนักลงทุนและผู้ออกตราสารหนี้ ก.ย. 2010 --- จัดตั้ง ASEAN+3 Bond Market Forum (ABMF) เพื่อพัฒนากฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติของการทำธุรกรรมข้ามพรมแดนให้มีมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาค พ.ย. 2010 --- จัดตั้งกลไกการค้ำประกันเครดิตและการลงทุน (Credit Guarantee and Investment Facility: CGIF) วงเงิน 700 ล้านUSD โดยเงินทุนมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน+3 และ ADB กลไก CGIF จะทำหน้าที่เป็นผู้ค้ำประกันพันธบัตรให้แก่ภาคเอกชน ซึ่งจะช่วยให้ภาคเอกชนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากขึ้น และเป็นกลไกสำคัญในการสนับสนุนการเพิ่มอุปทานของพันธบัตรสกุลเงินท้องถิ่นในภูมิภาค ASEAN + 3 (5)
EAS / ASEAN + 6 • การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) --- เป็นเวทีสำหรับการหารือทางยุทธศาสตร์ที่เปิดกว้างให้ประเทศภายนอกที่มีความสนใจ เข้ามามีส่วนร่วมในกรอบความร่วมมือต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญทางเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออก • EAS ครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ในปี 2005 โดยมีประเทศที่เข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ ประเทศสมาชิกอาเซียน10 ประเทศ จีน ญี่ปุน เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ • พ.ย. 2011--- ผู้นำจากสหรัฐ และ รัสเซีย เข้าร่วมประชุม EAS ทำให้ปัจจุบันมีประเทศเข้าร่วม EAS เป็น 18 ประเทศ
ความคืบหน้า (1) • ผลจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจของเอเชียในกรอบต่างๆ ทำให้ • รูปแบบการค้าระหว่างประเทศของเอเชียเปลี่ยนแปลง โดยมีการค้าระหว่างกัน (Intra – regional trade) มากขึ้น • ปัจจุบัน สัดส่วนการค้าระหว่างกันในภูมิภาคเอเชียสูงกว่าการค้ากับนอกภูมิภาคทว่าสินค้าที่มีการค้าขายระหว่างกันในเอเชียส่วนใหญ่ยังกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มสินค้าขั้นกลาง (intermediate products) โดยที่ตลาดของสินค้าขั้นสุดท้าย (final products) ยังคงเป็นตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐและยุโรป • แม้ว่าความร่วมมือทางการเงินจะทำให้ตลาดพันธบัตรของเอเชียขยายตัวขึ้น แต่ทว่าขนาดก็ยังเล็กเมื่อเทียบกับตะวันตก
ความคืบหน้า (2) Source: Asia Regional Integration Center, ADB
ความคืบหน้า (3) Intra sub regional Trade : Percentage Intra Asian Trade : Percentage Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI Source: Asia Regional Integration Center, ADB Note: Asia consists of the 48 regional member countries of ADB.
ความคืบหน้า (4) ขนาดตลาดพันธบัตรเอเชีย (พันล้าน USD) รวมญี่ปุ่น ไม่รวมญี่ปุ่น 5,479 พันล้าน USD 18,105 พันล้าน USD ABMI ABMI เปรียบเทียบขนาดตลาดพันธบัตรในปี 2011 (พันล้าน USD) Note: As of September 2011 for ASEAN -5, Korea, Japan, HK, and China , and as of June 2011 for the rest Sources: AsianBondsOnline.adb.org and BIS