850 likes | 1.62k Views
บทบาทของพยาบาลใน การดูแลผู้ป่วยสูงอายุแบบบูรณาการ. โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ, คม.(การบริหารการพยาบาล) ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สถานการณ์ผู้สูงอายุ. ปัญหาผู้ป่วยสูงอายุ. บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุ. ลักษณะของความเจ็บป่วย.
E N D
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุแบบบูรณาการบทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุแบบบูรณาการ โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ, คม.(การบริหารการพยาบาล) ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
สถานการณ์ผู้สูงอายุ • ปัญหาผู้ป่วยสูงอายุ • บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุ
ลักษณะของความเจ็บป่วยลักษณะของความเจ็บป่วย ความเป็นจริงเกี่ยวกับผู้สูงอายุ • โรคไม่ติดต่อ (ภาวะเรื้อรัง 1 อย่างและมากกว่า 82%, เท่ากับและมากกว่า 3 อย่าง • 43%) • โรคจิตประสาท • อุบัติเหตุ โรคเรื้อรังสะสมเพิ่มขึ้น ต้องการการพึ่งพา ใช้บริการสุขภาพเพิ่มขึ้น *ความต้องการการดูแล (Care needs) เพิ่มขึ้นและซับซ้อน
ความรุนแรงของภาวะทุพพลภาพระยะยาวในประชากรผู้สูงอายุความรุนแรงของภาวะทุพพลภาพระยะยาวในประชากรผู้สูงอายุ ระดับความ ลักษณะการ จำนวน(คน) ร้อยละ ร้อยละ รุนแรง จำแนก ประชากร ประชากร ทั้งหมด ที่ทุพพลภาพ ไม่มี ไม่มีทุพพลภาพ 3,279 81.0 น้อย สามารถเคลื่อนที่ 576 14.2 70.9 นอกที่พักอาศัย ปานกลาง ไม่สามารถเคลื่อนที่ 126 3.1 16.4 นอกที่พักอาศัย รุนแรง ไม่สามารถเคลื่อนที่ 29 0.7 3.8 ภายในบ้านหรือในห้อง รุนแรงมาก ต้องนอนตลอดและต้อง 38 0.9 4.9 การการดูแลมาก สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล และคณะ, 2542
ความชุกของภาวะทุพพลภาพระยะยาวของผู้สูงอายุความชุกของภาวะทุพพลภาพระยะยาวของผู้สูงอายุ ปัจจัย ไม่มีทุพพลภาพ (%) มีภาวะทุพพลภาพ (%) 60 – 69 85.2 14.8 70 – 79 78.4 21.6 80+ 67.1 32.9 เพศ ชาย 82.6 17.4 หญิง 79.8 20.2 สถานะเศรษฐกิจ ขัดสนมาก 74.5 25.5 ขัดสนบ้าง 79.2 20.8 ขัดสนบางครั้ง 80.4 19.6 ไม่ขัดสนเลย 82.3 17.7 สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล และคณะ, 2542
ความเป็นจริงเกี่ยวกับครอบครัวความเป็นจริงเกี่ยวกับครอบครัว ขนาดของครอบครัวเล็กลง วิถีชีวิตและค่านิยมทางสังคม ผู้หญิงทำงานนอกบ้าน การย้ายถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างวัย
แนวโน้มของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุอาศัยอยู่โดยลำพัง ผู้สูงอายุอาศัยอยู่กับสมาชิกในครอบครัวและทำงานนอกบ้าน คนวัยกลางคนและหญิงสูงอายุต้องรับภาระในการดูแล ผู้สูงอายุรับภาระดูแลผู้สูงอายุ ครอบครัวไม่สามารถรับภาระได้เกิดอาชีพผู้ช่วยดูแล?
United Nations principles for Older persons Independence Participation Care Self-fulfillment and dignity
วิชาชีพการพยาบาลกับการเตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุวิชาชีพการพยาบาลกับการเตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ
Ambulatory Care Hospital Care Home Care Community Care
Ambulatory care : older adults • 63% oncology specialty • 60% visits to cardiologist, and • 52% visits to urologists & ophthalmologists
In Hospitals • Emergency room • ICUs, CCUs (46%) • Respiratory care unit • Represent 48% of hospital days • 65% of hospital D/C for heart disease • 73% – CHF • 55% of D/C – malignant neoplasms, • Med-Surg
In Home Care • Older adults represent 80% of all visits • In nursing home (85%)
Older Adults • Chronic physical, functional, and cognitive changes • Multiple problems & complex problems • Multiple specialty-ambulatory care • Multiple medications • Readmission etc.
บริการสุขภาพ • บริการที่มุ่งผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง • มาตรฐาน, คุณภาพ • เข้าถึง • ต่อเนื่อง • คุ้มค่าใช้จ่าย • บริการสุขภาพองค์รวม, บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
Standards for best practice in care of older adults • Most older people receive care that fall below accepted quality care standards • The demographic imperative of aging adults-profound impact on the preparation and practice of health care professionals generally, and nurses in particular • Every nurses who cares for an older adults-to demonstrate competency to deliver such care
Nurse competent to provide optimal care to older adults • To address of the nursing needs of older adults • Focused on preparing geriatric nurse specialists, geriatric nurse practitioners and • Clinical specialists • More recently, as older adults’ needs for nursing care have overwhelmed the health care system • Have failed to attract sufficient numbers of nurses • All generalist and APNs who care for older adults have the requisite knowledge and competency to deliver quality care Mezey,Capezuti, & Fulmer,2004
Gerontologicalizing the practicing nurse • The needs of all nurses who care for older adults to have basic geriatric competencies… appropriate nursing care
All nurses… of their career care for older adults: • Providing preventive and wellness programs • Helping patients manage multiple chronic conditions and deal with increased mental and physical fragility; and • Facilitating a peaceful death
Gerontologicalizing generalist nursing education • In all student who graduate from a BSN program • Required geriatric courses • Required in the number of faculty prepared in geriatrics • Fostered development of academic centers of excellence The Hartford Institute-Foundation,AACN
Gerontologicalizing the preparation of advanced practice nurses • Successful collaboration with physician & social workers • Recognition of their practice by payers.. Medicaid, Medicare • Role of faculty in advanced practice geriatric nursing programs • To assure quality of care to older people • Significant improve health outcomes in ambulatory, acute, long-term care, and • As a members of interdisciplinary teams across settings
“It was an uphill battle to convince educators and practice leadership that geriatrics is the core business of health care and that nurses need specific competence in geriatrics to assume their central role in providing high quality care to older adults” (Mezey,2002)
The John A Hartford Foundation : Institute • To create a national repository of information… gerontological nursing care • Relevant to both policy and practice • To advance geriatric practice and humanize care • Development of best practice and curriculum standards, and materials • To creation of awards to showcase outstanding examples • The development of a summer research institute to expand faculty capacity
การดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการบริการสุขภาพแบบบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการบริการสุขภาพแบบบูรณาการ • สุขภาพองค์รวมและการดูแลสุขภาพองค์รวม • กาย • การทำหน้าที่ • จิต-สังคม • ปัญญา/จิตวิญญาณ • บริการสุขภาพ ครอบคลุม 4 มิติ • สร้างเสริมสุขภาพ • ป้องกัน • การรักษาพยาบาล • การฟื้นฟูสภาพ • บริการสุขภาพองค์รวม/บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
ปัญหาในการดูแลผู้สูงอายุปัญหาในการดูแลผู้สูงอายุ • การขาดระบบการดูแลที่มีประสิทธิภาพ • ขาดการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยสูงอายุทำให้มองข้ามกลุ่มอาการที่พบบ่อย • ขาดการบูรณาการหลักฐานเชิงประจักษ์ที่จะนำไปสู่การพัฒนารูปแบบการดูแลหรือแนวปฏิบัติที่อาศัยหลักฐานที่เป็นการดูแลแบบบูรณาการและมุ่งผลลัพธ์ • เจตคติเชิงลบต่อความสูงอายุและผู้สูงอายุ
Geriatric Care Model : Spiraling model for practice • Evidence – triggered • Evidence – supported • Evidence – observed • Evidence – phased Soukup, 2000
ประเด็นปัญหาของผู้ป่วยสูงอายุประเด็นปัญหาของผู้ป่วยสูงอายุ ภาวะทุพโภชนาการ 40% ความเสื่อมถอยของ การทำหน้าที่ 25-60% ผิวหนังฉีกขาด 23% ผู้ป่วยสูงอายุ ซึมเศร้า หกล้ม สับสนเฉียบพลัน กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ 31% ความปวด ท้องผูก 25% พร่องการมองเห็น
Partially preventable, hazards of hospitalization • Acute renal failure • Adverse drug events (10-15%) • Inappropriate bladder catheterization • Deconditioning and immobility • Dehydration (7%) • Delirium
Partially preventable, hazards of hospitalization (cont.) • Depression • Electrolyte disturbances • Falls (4 - 11 per 1000 patient-days) • Function decline (32%) • Incontinence (11% 23% D/C)
Partially preventable, hazards of hospitalization (cont.) • Infection (pneumonia, UTI) • Malnutrition (61%) • Pressure ulcer (5%) • Stress induced GI ulceration • Thromboembolism • Untreated or under treated pain AGS, 2000
Psychosocial issue Falling Confusion Incontinence Iatrogenic disorders Impaired homeostasis Giants of geriatric for a nursing assessment (Olenek, 2000)
A “benchmark” of patients’ progress : Functional status • การประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ • การใช้เครื่องมือมาตรฐานประเมินเพื่อการสื่อสารเข้าใจตรงกันและการปรับปรุงคุณภาพต่อเนื่อง • พยาบาลสังเกตได้จากการสังเกตระหว่างให้การพยาบาลที่เป็นงานประจำ (routine care) • ประเมินจากผู้ป่วย ครอบครัว และผู้ดูแล *เพื่อคงไว้ซึ่งความสามารถและป้องกันการเสื่อมถอย*
Fulmer SPICES: An Assessment Tool of Older Adults S is for sleep disorders P is for problems with eating or feeding I is for incontinence C is for confusion E is for evidence of falls S is for skin breakdown
Successful model of care • Hospital elder life program (Inouye,1994) • ACE Units (Cleveland, 1994) • NICHE (Nurses Improving Care for Health System Elders, New York U.1992) • Geriatric Institutional Assessment (GIAP) • Nursing Care Models • Clinical practice protocols, evaluation • GRN • A List-serv • Model of transitional care (Naylor, 1999) • Comprehensive Geriatric Assessment • Family participation in hospitalized elderly • (ชวลี แย้มวงษ์และคณะ, )
เป้าหมายของหน่วยผู้ป่วยสูงอายุ (ACE unit) • การประสานความร่วมมือระหว่างวิชาชีพดีขึ้น • การตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยดีขึ้น • ป้องกันปัญหา/ภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้เนื่องจากการคาดการณ์ล่วงหน้า • คุณภาพการดูแลดีขึ้นจากการประเมิน การบำบัดรักษาที่อาศัยหลักฐาน (evidence-based) • การพัฒนาโปรแกรมการดูแลโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว “Aged Friendly” Care unit (Benedict, Robinson & Holder, 2006)
Comprehensive Geriatric Assessment • Baseline • On admission • Through hospitalization • At discharge • At home
ปัญหา • การขาดทักษะการประเมินผู้ป่วย • พยาบาลไม่สามารถวางแผนการดูแลที่จำเป็น • และไม่สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ จิตสังคมได้
ความสำคัญ • การประเมินภาวะสุขภาพ • บูรณาการข้อมูลเข้าด้วยกัน • สื่อสารข้อมูลแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง, ผู้ป่วย และครอบครัว • ป้องกันปัญหาและจัดการเหมาะสม
เป้าหมายในการบำบัดเพื่อลดอุบัติการณ์ Cascade Iatrogenesis • ประเมินปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตั้งแต่แรกเริ่ม • การบำบัดเพื่อรักษาไว้ซึ่ง functional mobility
ประเมินเกี่ยวกับยา (Medication assessment) ประเมินประวัติการหกล้ม
ครอบครัวเป็นแห่งประโยชน์สำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ Health resource for older patients • ในการวางแผนเพื่อให้เกิดการเยี่ยวยาและรักษาพยาบาลและความสามารถในการทำหน้าที่ • สมาชิกในครอบครัวทำให้ผู้สูงอายุสะดวกสบาย ผ่อนคลาย • การสื่อสาร เข้าใจ ห่วงใย
Multidisciplinary geriatric consultation team การประเมินผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบ ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกัน และ จัดการกลุ่มอาการที่พบบ่อย Multidisciplinary team rounds