620 likes | 705 Views
การพัฒนาผลการเรียนรู้ สู่การพัฒนากลุ่มวิชาและ รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไ ป. บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร . ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล สำนักงานจัดการศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทำไมต้อง.....ผลการเรียนรู้ ?. หลักการและเหตุผลในการใช้ผลการเรียนรู้.
E N D
การพัฒนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนากลุ่มวิชาและ รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร. ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล สำนักงานจัดการศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักการและเหตุผลในการใช้ผลการเรียนรู้หลักการและเหตุผลในการใช้ผลการเรียนรู้ • เพื่อให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(NQF)ที่กำหนดโดยสกอ. • สามารถใช้เป็นกรอบอ้างอิงเพื่อการประกันคุณภาพภายนอกและการเปรียบเทียบมาตรฐานหลักสูตร • เป็นกลไก/เครื่องมือช่วยในการนำแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดโดยสกอ. และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยไปสู่การปฏิบัติ • เป็นกรอบ / แนวทางสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาการเรียนการสอนและการประเมินผลวิชาการศึกษาทั่วไปให้สอดคล้องกัน • เป็นเครื่องมือสื่อสารกลางเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนนิสิตและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนวิชาการศึกษาทั่วไป
กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้ • รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนิสิต ผู้ใช้บัณฑิต สภาวะทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก NQF ปณิธานของมหาวิทยาลัย และคุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • กำหนดจุดมุ่งหมายของหมวดวิชาและคุณสมบัติของนิสิตที่ผ่านหมวดวิชาศึกษาทั่วไป • 3. นำข้อกำหนดทั้งหมดมาประมวล หาองค์ประกอบหลัก (Domain) ของคุณลักษณtนิสิตที่พึงประสงค์ของหมวดวิชา • ระบุสมรรถนะหลัก (Major Competencies) ของแต่ละองค์ประกอบ • 5. นำเอาขอบเขตความสามารถและคุณลักษณะ ที่ได้ในข้อ 3 มาแตกออกเป็นสมรรถนะสนับสนุน(Supporting outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตและวัดได้ Information GOAL Domain Major Competency Suppporting Competencies/ Learning Outcomes
ขั้นตอนแรก การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เหตุปัจจัย ปัญหา สภาวะแวดล้อม และ ความต้องการต่างๆ โลก สุขภาพ สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ การ สื่อ สาร พหุวัฒนธรรม ASEAN วิทยาการ
NQF…ที่กำหนดโดย สกอ. • การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางเชาวน์ปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ทักษะการคิดวิเคราะห์และการสื่อสาร
คำอธิบาย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ที่กำหนดโดย สกอ. วิชาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคมเป็นผู้ใฝ่รู้สามารถคิดอย่างมีเหตุผลสามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี
คำอธิบาย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ที่กำหนดโดย สกอ. สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปในลักษณะจำแนกเป็นรายวิชา หรือลักษณะบูรณาการใด ๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชาศึกษาทั่วไป โดยให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไปมีเจตนารมณ์เพื่อเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยให้ศึกษารายวิชาต่างๆ จนเกิดความซาบซึ้ง และสามารถติดตามความก้าวหน้าในสาขาวิชานั้นได้ด้วยตนเอง
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๔๘ โครงสร้างหลักสูตร (ป.ตรี ๔ ปี)≥ ๑๒๐ หน่วยกิต ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ≥ ๓๐ หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ - กลุ่มวิชาภาษา ในสัดส่วนที่เหมาะสม - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๒. หมวดวิชาเฉพาะ ≥ ๘๔ หน่วยกิต ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ≥ ๖ หน่วยกิต
ปณิธานของมหาวิทยาลัย รู้ลึก รู้รอบ General Education กอปร คุณธรรม
คุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย - ในประเทศ - ต่างประเทศ - ราชภัฎรสุราษฐ์ธานี
กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้ • 1. รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนิสิต ผู้ใช้บัณฑิต สภาวะทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก NQF ปณิธานของมหาวิทยาลัย และคุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ • 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและคุณสมบัติของนิสิตที่ผ่านหลักสูตรการศึกษาทั่วไป • 3. นำข้อกำหนดทั้งหมดมาประมวล หาองค์ประกอบหลัก (Domain) ของคุณลักษณนิสิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร • 4. ระบุสมรรถนะหลัก หรือผลการเรียนรู้(Major Competencies / Learning Outcomes) ของแต่ละองค์ประกอบ • 5. นำเอาขอบเขตความสามารถและคุณลักษณะ ที่ได้ในข้อ 4 มาแตกออกเป็นสมรรถนะสนับสนุน(Supporting Outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตุ และวัดได้ Information GOAL Domain Major Competency / Learning Outcomes Suppporting Competencies / outcomes
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ของมหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาทั่วไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาทั่วไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พัฒนาความรู้รอบในศาสตร์ต่างสาขาเพื่อความเข้าใจโลก ธรรมชาติ ชีวิตสังคม และความเป็นมนุษย์ ส่งเสริมการใช้ปัญญา ความคิด วิเคราะห์ ใคร่ครวญ กลั่นกรอง เชื่อมโยง อย่างเป็นระบบ และสร้างสรรค์ เสริมสร้างสุขภาวะ บุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำและการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าและมีคุณธรรม พัฒนาทักษะทางสังคม การสื่อสาร การแสวงหาความรู้ การบริหารจัดการ และการพัฒนาตนให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขและยั่งยืน
กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้ • 1. รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนิสิต ผู้ใช้บัณฑิต สภาวะทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก NQF ปณิธานของมหาวิทยาลัย และคุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ • 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและคุณสมบัติของนิสิตที่ผ่านหลักสูตรการศึกษาทั่วไป • 3. นำข้อกำหนดทั้งหมดมาประมวล หาองค์ประกอบหลัก (Domain) ของคุณลักษณนิสิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร • 4. ระบุสมรรถนะหลัก หรือผลการเรียนรู้(Major Competencies / Learning Outcomes) ของแต่ละองค์ประกอบ • 5. นำเอาขอบเขตความสามารถและคุณลักษณะ ที่ได้ในข้อ 4 มาแตกออกเป็นสมรรถนะสนับสนุน(Supporting Outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตุ และวัดได้ Information GOAL Domain Major Competency / Learning Outcomes Suppporting Competencies / outcomes
ขั้นตอนที่ 3และ4 การกำหนดผลการเรียนรู้ตาม จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ของมหาวิทยาลัย
กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้ • 1. รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนิสิต ผู้ใช้บัณฑิต สภาวะทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก NQF ปณิธานของมหาวิทยาลัย และคุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ • 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและคุณสมบัติของนิสิตที่ผ่านหลักสูตรการศึกษาทั่วไป • 3. นำข้อกำหนดทั้งหมดมาประมวล หาองค์ประกอบหลัก (Domain) ของคุณลักษณนิสิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร • 4. ระบุสมรรถนะหลัก หรือผลการเรียนรู้(Major Competencies / Learning Outcomes) ของแต่ละองค์ประกอบ • 5. นำเอาขอบเขตความสามารถและคุณลักษณะ ที่ได้ในข้อ 4 มาแตกออกเป็นสมรรถนะสนับสนุน(Supporting Outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตุ และวัดได้ Information GOAL Domain Major Competency / Learning Outcomes Suppporting Competencies / outcomes
ขั้นตอนที่ 5 จัดทำสมรรถนะสนับสนุน (Supporting competencies) หรือ ผลการเรียนรู้สนับสนุน (Supporting learning Outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตุ และวัดได้
ตัวอย่างผลการเรียนรู้หลักและเสริมตัวอย่างผลการเรียนรู้หลักและเสริม ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ:สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี ๑) สามารถปรับตัวเข้าทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะ ผู้นำและสมาชิกกลุ่ม ๒) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนา ตนเอง และวิชาชีพ ๓) ---------------------------------------------------------------------- ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ: สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี :๑) สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ทั้งการพูด และการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอได้เหมาะสมทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ๒) มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสาร ๓) .................................................................................. ๑. คุณธรรมจริยธรรม:มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ ๑) มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต ๒) เคารพ และชื่นชมงานศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น และ สากล ๓) ..................................................................... ๒. ความรู้: มีความรู้อย่างกว้างขวางมีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติของตนเอง ผู้อื่นและสังคม ๑) อธิบายความเชื่อมโยงของศาสตร์หลักในการดำเนิน ชีวิต ๒) .................................................................... ๓. ทักษะทางปัญญา:เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล ๑) สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจประเมิน ข้อมูลจากหลักฐานใหม่ แล้วนำข้อสรุปมาใช้ ๒) สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนว ทางแก้ไขที่สร้างสรรค์ ๓).............................................................................
กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลการเรียนรู้ • 1. รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนิสิต ผู้ใช้บัณฑิต สภาวะทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก NQF ปณิธานของมหาวิทยาลัย และคุณลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ • 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและคุณสมบัติของนิสิตที่ผ่านหลักสูตรการศึกษาทั่วไป • 3. นำข้อกำหนดทั้งหมดมาประมวล หาองค์ประกอบหลัก (Domain) ของคุณลักษณนิสิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร • 4. ระบุสมรรถนะหลัก หรือผลการเรียนรู้(Major Competencies / Learning Outcomes) ของแต่ละองค์ประกอบ • 5. นำเอาขอบเขตความสามารถและคุณลักษณะ ที่ได้ในข้อ 4 มาแตกออกเป็นสมรรถนะสนับสนุน(Supporting Outcomes) ที่เฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตุ และวัดได้ Information GOAL Domain Major Competency / Learning Outcomes Suppporting Competencies / outcomes
Free Elective แนวคิดการพัฒนารายวิชาศึกษาทั่วไป ที่มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( NQF) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปณิธาน ปรัชญา วิสัยทัศน์ / ของมหาวิทยาลัย (TQF) คุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ หลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ ภาคผนวก ค ) (Program Spec. มคอ . 2 ) ดูใน ( วิชาศึกษาทั่วไป วิชาเลือกเสรี วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ( 30 ไม่ น้อยกว่า ( 6 ไม่น้อยกว่า ( 84 หน่วยกิต ) หน่วยกิต ) หน่วยกิต ) Professional Learning GE Learning Outcomes Outcomes 1. คุณธรรม 6 .จิตสาธารณะ“ 1. ---- 2. ความรู้ รอบ 7. บริหารจัดการ 2. ---- 3 ความคิดระดับสูง 8. แผนพัฒนาชีวิต า 3. ---- 4. การสื่อสาร etc. 5. สุขภาพกาย-จิต GE Learning Outcome Mapping ทุกรอบปรับ หลักสูตร 5 ปี ข้อกำหนดระดับรายวิชา ( Course Spec. มคอ . 3 ) ทุกภาค การศึกษา 25 แผนภาพที่ แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาศึกษาทั่วไป Learning Outcome E valuation 1 ที่มุ่งเน้นการเรียนรู้
การนำผลการเรียนรู้สู่การจัดกลุ่มวิชา ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ของมหาวิทยาลัย
จะนำผลการเรียนรู้สู่การจัดกลุ่มวิชาจะนำผลการเรียนรู้สู่การจัดกลุ่มวิชา ....ได้อย่างไรบ้าง ?
จะนำผลการเรียนรู้ สู่การจัดกลุ่มวิชา ได้อย่างน้อย 3แบบ
โครงสร้างกลุ่มวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป แบบ 1 กลุ่มวิชา /ผลการเรียนรู้ รายวิชาบูรณาการ (วิทย์ มนุษย์ สังคม) วิชาความดีและความสุข วิชาศาสนาเปรียบเทียบ วิชาพุทธรรมในพระไตรปิฎก วิชาธรรมวิทยา วิชา.... คุณธรรม วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาจีน วิชาการศื่อสารไร้พรหมแดน วิชาเทคโนโลยี่สารสนเทศ ภาษาและการสื๋อสาร วิชาโลกไร้พรหมแดน วิชาครอบครัวยุคใหม่ วิชาการจัดการความเครียด วิชาอัญญมณี วิชา......... ความรู้รอบ วิชาความคิดสร้างสรรค์ วิชาปรัชญายุคใหม่ วิชา....วิชา Critical thinking วิชา......... วิชา........... ความคิดระดับสูง ความเป็นผู้นำ
โครงสร้างกลุ่มวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป แบบ 2 กลุ่มวิชา สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สหศาสตร์
โครงสร้างกลุ่มวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป แบบ 3 วิชาแกน
แบบใด......จึงจะเหมาะกับ สถาบันของท่าน ?
ข้อควรคำนึงในการเลือกรูปแบบการจัดกลุ่มวิชาข้อควรคำนึงในการเลือกรูปแบบการจัดกลุ่มวิชา
ข้อควรคำนึงในการเลือกรูปแบบการจัดกลุ่มวิชาข้อควรคำนึงในการเลือกรูปแบบการจัดกลุ่มวิชา
สรุปรูปแบบโครงสร้างหลักสูตรของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กับลักษณะเฉพาะของมหาวิทยาลัย แบบที่ 1 น่าจะเหมาะสำหรับมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ ที่มีหลากหลายคณะวิชา มีความเป็นอิสระสูง ซึ่งมีระบบประกันคูณภาพรายวิชาที่ดี แบบที่ 2 น่าจะเหมาะกับมหาวิทยาลัยขนาดเล็ก ผลิตบัณฑิตเฉพาะทาง ไม่มีหลายคณะวิชา ธรรมชาติของ แบบที่ 3 เหมาะสำหรับมหาวิทยาลัยขนาดเล็ก ถึง ขนาดกลาง มีคณะ/สำนักวิชา/หน่วยงานที่มีอาจารย์ประจำสามารถรับผิดชอบการสอนได้เต็มที่
การนำผลการเรียนรู้สู่รายวิชาการนำผลการเรียนรู้สู่รายวิชา การศึกษาทั่วไป
ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนตามผลการเรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนตามผลการเรียนรู้ Course Planning (มคอ. 3) Learning Outcomes Supporting Learning Outcomes Behavioral Objectives (K S A) Teaching/Learning Activities and Materials (K S A) Learning Evaluation (K S A) Learning Outcomes Evaluation Course Analysis and Improvement Report (มคอ.5)
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ๑ อาจารย์ประจำหลักสูตร(หมวดวิชา)อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการ ประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร ๒. มีรายละเอียดของหลักสูตร(หมวดวิชา) ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) ๓. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอน ในแต่ละภาคการศึกษา ให้ครบทุกรายวิชา ๔. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตอบแบบ มคอ. ๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา ๕ ให้จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา ๖. มีการทวนสอบสอบสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนด ใน มคอ.๓ และมคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ ปีการศึกษา
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปีที่แล้ว ๘. อาจารย์ใหม่(ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน ๙. อาจารย์ประจำ(หมวดวิชา)ทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ๑๐. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ต่อปี ๑๑. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ ๑๒. ระดับความพึงพอใจของ(ผู้เรียน)บัณฑิตผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
มคอ.๓ ....มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มคอ. ๓ คือรายละเอียดของรายวิชาที่ระบุเป้าหมาย ผลการเรียนรู้ แผนการสอน การวัดและประเมินผล ที่ต้องจัดทำก่อนการสอน
ที่มา: แบบ มคอ.๒ รายละเอียดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๓ ม.สหศาสตร์
คำอธิบายรายวิชา (มคอ. ๓ ) หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๒. จำนวนหน่วยกิต ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite) ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน(Co-requisites) ๘. สถานที่เรียน ๙. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่จัดทำรายวิชา วันที่ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา ๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๑. คำอธิบายรายวิชา ๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา จำนวนชั่วโมงบรรยาย.... จำนวนชั่วโมงปฏิบัติการ.,.. จำนวนเรียนรู้ด้วยตัวเอง..... ๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษา เป็นรายบุคค
หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. คุณธรรม จริยธรรม
๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา
๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา
๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ