530 likes | 697 Views
การสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา. ตระกูลไทย ฉายแม้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร. ประเด็นการนำเสนอ. 1.สถานการณ์โรค 2.นิยามการเฝ้าระวัง 3.การสอบสวนโรค 4.การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5.การติดตามผู้สัมผัส. สถานการณ์. ป่วย (เสียชีวิต). วิธีการแพร่กระจายเชื้อ ไวรัส อีโบลา.
E N D
การสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาการสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ตระกูลไทย ฉายแม้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
ประเด็นการนำเสนอ 1.สถานการณ์โรค2.นิยามการเฝ้าระวัง3.การสอบสวนโรค4.การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ5.การติดตามผู้สัมผัส
สถานการณ์ ป่วย (เสียชีวิต)
วิธีการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบลาวิธีการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบลา • แพร่เชื้อจากคนสู่คน ผ่านการรับหรือสัมผัสของเหลว จากร่างกายผู้ติดเชื้อ ไม่ว่าจะเป็นเลือด น้ำลาย น้ำมูก เหงื่อ สารคัดหลั่งต่าง ๆ ตลอดจนเชื้ออสุจิ เชื้ออีโบลาไม่ติดต่อกัน ทางอากาศที่หายใจร่วมกัน • ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสอีโบลาจะต่ำในระยะเริ่มแรกที่ผู้ป่วยมีอาการ • ความเสี่ยงจะเพิ่มตามระยะของโรค เนื่องจากจำนวนไวรัสในเลือดเพิ่มขึ้น • จากการระบาดของ ebolaที่ซูดานและอูกันดา ในปี 2543 พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือการสัมผัสกับเลือด/สารคัดหลั่งซ้ำไปมา รวมถึงการสัมผัสกับอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ทีมีการปนเปื้อนเชื้อไวรัส
นิยามสำหรับการเฝ้าระวังนิยามสำหรับการเฝ้าระวัง
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 1.ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI: patient under investigation) • ผู้ที่มีอาการไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ มีประวัติสัมผัสโรคในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย ข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้ - อาศัยอยู่ หรือ เดินทางมาจากประเทศที่เกิดโรค (ณ ปัจจุบัน ได้แก่ กินี ไลบีเรีย เซียราลีโอน และเมืองลากอส ไนจีเรีย) - สัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่สงสัยติดเชื้ออีโบลา - สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจากพื้นที่เกิดโรค
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 2.ผู้ป่วยสงสัย (suspect case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีอาการเลือดออกผิดปกติ / อาการแย่ลงเร็ว (severe and rapid progressive) / เสียชีวิต โดยไม่ทราบสาเหตุอื่นๆ ที่ชัดเจน 3.ผู้ป่วยน่าจะเป็น (probable case)ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่ยืนยัน/น่าจะเป็นผู้ติดเชื้ออีโบลา
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 4.ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) • ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด้วยวิธี - Ebola Realtime RT-PCR ให้ผลบวก หรือ - การตรวจด้วยวิธี ELISA พบ Ebola IgM ให้ผลบวก หรือสามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลา (viral isolation)
นิยามการรายงานโรคสำหรับทีม SRRT/รพ.สต. ผู้ป่วยสงสัย (suspected case) หมายถึงผู้ป่วยหรือผู้เสียชีวิตที่มีอาการไข้สูงเฉียบพลัน และมีประวัติสัมผัสกับ * ผู้ป่วยสงสัย ผู้ป่วยเข้าข่าย หรือผู้ป่วยยืนยันโรคอีโบลา * สัตว์ป่วยหรือตายจากโรคอีโบลา หรือผู้ที่มีอาการไข้สูงเฉียบพลัน และอาศัยอยู่ในตำบลที่พบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค อีโบลาและมีอาการแสดงอย่างน้อย 3 อาการ ต่อไปนี้ ปวดศรีษะ อาเจียน เบื่ออาหาร ถ่ายเหลว เซื่องซึม ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อ/ปวดข้อ กลืนลำบาก หายใจลำบาก สะอึก (หรือ)
นิยามการรายงานโรคสำหรับทีม SRRT/รพ.สต.(ต่อ) หรือ ผู้ป่วยที่มีอาการไข้สูงเฉียบพลัน และมีอาการเลือดออกที่หาสาเหตุไม่ได้ และอาศัยอยู่ในตำบลที่พบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค อีโบลา หรือ ผู้เสียชีวิตฉับพลันอย่างไม่ทราบสาเหตุและอาศัยอยู่ในตำบลที่พบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค อีโบลา
นิยามการรายงานโรคสำหรับทีมสอบสวนโรคใน รพ. ผู้ป่วยน่าจะเป็น (probable case) หมายถึง ผู้ป่วยที่เข้านิยามผู้ป่วย สงสัยที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ หรือผู้ป่วยสงสัยที่เสียชีวิต เป็นกรณีที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างส่งตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการได้ และมีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันอีโบลา ผู้ป่วยยืนยัน (Laboratory confirm case ) หมายถึงผู้ป่วยสงสัยหรือผู้ป่วยเข้าข่ายที่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ผลบวกของไวรัสแอนติเจน โดยตรวจพบ RNA virus ด้วยวิธี revrse transcriptase-polymerase chain reaction (RT-PCR ) หรือให้ผลบวกของ IgM แอนติบอดีต่อเชื้อ Ebola
การสอบสวนโรคผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาการสอบสวนโรคผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ข้อตกลง(ณ เวลานี้) 1. ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 1.1 รายแรกของแต่ละ สคร. สำนักระบาด, สคร., 1.2 รายต่อไป สคร.,สสจ., คปสอ. 1.3 กรณีระบาดเป็นวงกว้าง อาจต้องมีการปรับแผน เช่น ระดมความ ช่วยเหลือจากจังหวัดหรือ สคร. อื่น
การสอบสวนโรคผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาการสอบสวนโรคผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ข้อตกลง(ณ เวลานี้) 2. แบบรายงานที่ใช้ 2.1 แบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ใช้ในการสอบสวนโรคกรณีพบผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัย 2.2 แบบบันทึกประวัติผู้สัมผัสผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาใช้ในการติดตามอาการของผู้สัมผัสผู้ป่วยอีโบลา 2.3 แบบรายงานการเฝ้าระวังเชิงรุกของผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ใช้ในการบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังในพื้นที่ที่มีการระบาด ต้องดำเนินการเป็นระยะเวลา 2 เท่าของระยะฟักตัวของเชื้อไวรัสอีโบลา (42 วัน) 2.4 แบบบันทึกการตรวจสอบข่าวผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
การสอบสวนโรคในโรงพยาบาลการสอบสวนโรคในโรงพยาบาล 1. องค์ประกอบของทีมสอบสวนโรคในโรงพยาบาล 1.1 แพทย์, พยาบาลโรคติดเชื้อ และ จนท.ระบาดวิทยา 1.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมโรคติดเชื้อใน รพ.จากส่วนกลาง เพื่อช่วยประเมินความเหมาะสมของการควบคุมโรคติดเชื้อใน รพ.
การสอบสวนโรคในโรงพยาบาลการสอบสวนโรคในโรงพยาบาล เตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับผู้สวม 2. อุปกรณ์ของทีมสอบสวนโรค 1. N – 95 2. กาวน์กันน้ำแขนยาวที่มีหมวกคลุมศรีษะ 3.แว่นตาป้องกันตา 4. ถุงมือ 5.ถุงคลุมรองเท้า หรือรองเท้าบูทรัดเข่า 6.เครื่องอัดเทปเล็กๆทีสามารถใส่ติดกับชุดที่สวม และสามารถสวมทับโดยเสื้อกาวน์กันน้ำ เพื่อใช้อัดข้อมูลในห้องแยกโรค 7. ทำความเข้าใจแบบสอบสวนโรคผู้ป่วย
การสอบสวนโรคในโรงพยาบาลการสอบสวนโรคในโรงพยาบาล 3.ขั้นตอนการเข้าสอบสวนโรค 1. ประสานห้องแยกขอเข้าสอบสวนโรค 2. ทบทวนการใส่ – ถอดชุด PPE 3. เข้าสอบสวนผู้ป่วยตามเนื้อหาในแบบสอบสวนโรค 4. การถอดชุด PPE เมื่อออกจากห้องแยกโรคควรมีจนท. ด้านการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลคอยให้ คำแนะนำเพื่อความปลอดภัยของทีมสอบสวนโรคและลด โอกาสปนเปื้อนเชื้อใน รพ.
การสอบสวนโรคในโรงพยาบาลการสอบสวนโรคในโรงพยาบาล 4.ขั้นตอนการเข้าสอบสวนโรค (ต่อ) 5. เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยเกี่ยวกับ - ข้อมูลทั่วไป อาการ ผลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ รูปถ่ายเอ็กซเรย์ และข้อมูลอื่นๆ ที่สำคัญ ข้อมูลตามแบบสอบสวนโรคผู้ป่วยติดเชื้ออีโบลา 6. แจ้งรายชื่อผู้สัมผัสแก่ จังหวัดอื่น /ทีม คปสอ. เพื่อติดตามผู้สัมผัสจนครบ 21 วัน นับจากวันพบผู้ป่วยครั้งหลังสุด
แบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลาแบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลา
แบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลาแบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลา
แบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลาแบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลา 3.ประวัติการสัมผัสภายใน 21 วัน ก่อนมีอาการป่วย สัมผัสกับผู้ป่วยสงสัยโรคอีโบลา เนื่องจากเป็นสมาชิกในบ้าน ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ ชื่อผู้ที่ผู้ป่วยสัมผัส.....................................................................ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย................................................... วันที่สัมผัสครั้งสุดท้าย...............................................................ชนิดและระยะเวลาของการสัมผัส............................................. สัมผัสกับผู้ป่วยสงสัยอีโบลาเนื่องจากเป็นบุคลากรทางการแพทย์ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ ชื่อผู้ที่ผู้ป่วยสัมผัส.....................................................................ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย................................................... วันที่สัมผัสครั้งสุดท้าย...............................................................ระยะเวลาของการสัมผัส............................................................... สถานพยาบาลที่สัมผัส............................................จังหวัด..........................................................อำเภอ....................................... สัมผัสกับผู้ป่วยสงสัยอีโบลาเนื่องจากเป็นผู้ร่วมเดินทาง ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ ชื่อผู้ที่ผู้ป่วยสัมผัส.....................................................................วันที่สัมผัสครั้งสุดท้าย...............................................................ระยะเวลาของการสัมผัส...........................................เส้นทางที่เดินทาง...............................วันที่เดินทาง....................................... สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตาย(โดยเฉพาะ ลิง แอนนิโลปป่า(สัตว์กีบคู่วงเดียวกับวัว ควาย)หนู ค้างคาว ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ ชนิดสัตว์ที่สัมผัส..................................วันที่สัมผัส............................ชนิดและระยะเวลาของการสัมผัส.......................................สถานที่สัมผัส เช่นตอนเดินทางไปแอฟริกา หรือขณะอยู่ประเทศไทย................................................
คำถาม? • การตรวจสอบข่าวผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาทำอย่างไรบ้าง เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน / สงสัย / เข้าข่าย โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • กรณีได้รับแจ้งจากด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ • กรณีได้รับแจ้งผู้ป่วยจากสถานพยาบาล • กรณีได้รับแจ้งจากทีม SRRT ว่าพบผู้ป่วยในขุมชน
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลาข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลา • การเก็บตัวอย่างและการส่งตรวจ • เก็บ whole blood/ EDTA 4 หลอดโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทย์ฯจะเป็นผู้ไปรับตัวอย่างที่โรงพยาบาล
การติดตามผู้สัมผัสโรคการติดตามผู้สัมผัสโรค
นิยามผู้สัมผัสโรค 1. ผู้สัมผัสผู้ป่วยโรค Ebola หมายถึง ผู้ที่สัมผัสกับผู้ป่วยโรค Ebola ด้วยกรณีต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งกรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย • อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับผู้ป่วย • ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วยหรือเสื้อผ้าของผู้ป่วย • สัมผัสกับร่างผู้เสียชีวิตขณะจัดการศพหรือระหว่างงานศพ • ทารกที่ดูดนมมารดาที่ป่วยด้วยโรค Ebola
นิยามผู้สัมผัสโรค 2. ผู้สัมผัสสัตว์ป่วยหรือตาย หมายถึง ผู้ที่สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตายด้วยกรณีต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งกรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย • สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตาย (โดยเฉพาะ ลิง แอนติโลปป่า สัตว์กีบคู่อยู่ในวงศ์วัวและควาย ) หนู และค้างคาว) • สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายของสัตว์ป่วยหรือตาย • ชำแหละสัตว์ตาย • รับประทานเนื้อสัตว์ป่าดิบ
นิยามผู้สัมผัสโรค 3.ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรค หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรค และได้สัมผัสตัวอย่างส่งตรวจจากผู้ป่วย/สัตว์ป่วยสงสัยโรค Ebola ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย
ตารางประเมิน ระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสอีโบลา จำแนกตามลักษณะการสัมผัส
สถานการณ์แสดงการจัดการผู้สัมผัส ตามระดับความเสี่ยง สถานการณ์ที่ 1บุคคลมีประวัติสงสัยว่ามีการสัมผัสกับเชื้อไวรัสอีโบลา ** คนไทยที่เดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค ควรได้รับการประเมินความเสี่ยง ถ้า - มีความเสี่ยงในระดับต่ำหรือปานกลาง บุคคลนั้นควรได้รับการสอบถามสอบถามลักษณะการสัมผัสอีกครั้ง และติดตามวัดอุณหภูมิร่างกายติดต่อกัน 21 วัน - มีความเสี่ยงสูง ควรแยกบุคคลนั้นเพื่อติดตามอาการของโรค
สถานการณ์แสดงการจัดการผู้สัมผัส ตามระดับความเสี่ยง สถานการณ์ที่ 2 บุคคลแสดงอาการเข้าได้กับนิยามการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ถ้าเพิ่งเดินทางมาจากประเทศที่มีการระบาด ให้ประเมินโอกาสสัมผัสดังนี้1. ไม่มีประวัติสัมผัสหรือมีประวัติสัมผัสในระดับความเสี่ยงต่ำ มีความเป็นไปได้ที่จะได้รับเชื้อชนิดอื่น เช่น มาลาเรีย ดังนั้น ควรมีการสอบสวนหาสาเหตุการเกิดโรคที่น่าจะเป็นไปได้ 2 มีประวัติสัมผัสที่มีความเสี่ยงระดับปานกลางหรือสูง ต้องมีการแยกกัก เพื่อติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และให้อยู่ในห้องแยกโรคผู้ป่วยติดเชื้อ และสอบสวนหาสาเหตุทันที
สถานการณ์แสดงการจัดการผู้สัมผัส ตามระดับความเสี่ยง สถานการณ์ที่ 3 มีผู้โดยสารบนเครื่องบิน ป่วยมีอาการเข้าได้กับการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ****** ประเมินว่า 3 สัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผู้โดยสารที่ป่วย มีประวัติต่อไปนี้หรือไม่ 1. เดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค และ 2. มีประวัติสัมผัสสัตว์ป่วย ตาย ขณะอยู่ในประเทศนั้น หรือ 3. ดูแลใกล้ชิด และสัมผัสผู้ป่วยหนักหรือผู้เสียชีวิต ถ้า ข้อ 1 ตอบใช่ และ ตอบใช่ในข้อ 2 หรือ 3 ให้จัดว่าเป็นผู้ป่วยสงสัยที่มีโอกาสสัมผัสกับเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศที่มีการระบาดในช่วง 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา ให้ดำเนินการด้านระบาดวิทยาขั้นสูงสุด ดังนี้
สถานการณ์แสดงการจัดการผู้สัมผัส ตามระดับความเสี่ยง 1. ผู้โดยสารและลูกเรือที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ทุกราย ต้องมีการ สืบหากลับไป เพื่อสอบสวนโรคและติดตามอาการ 2. ผู้โดยสารที่มีที่นั่งติดหรือห่างไป 1 ที่นั่งกับผู้ป่วยในทุกทิศทาง ต้อง ได้รับการสอบสวนย้อนกลับ ถ้า ผู้ป่วยนั่งติดทางเดิน ผู้โดยสารคนอื่นๆ อีก 3 ที่นั่ง ที่นั่งอยู่ตรงข้ามกับผู้ป่วย ต้องถูกติดตามผู้สัมผัส 3. ลูกเรือทีทำหน้าที่ให้บริการผู้โดยสารในส่วนของผู้ป่วย ต้องถูกติดตามผู้ สัมผัส รวมถึงลูกเรือคนอื่นๆ ที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้อื่น 4. จนท.ทำความสะอาดเครื่องบินที่ผู้ป่วยนั่งอยู่ และ จนท. ทำความ สะอาดห้องน้ำ ต้องได้รับการติดตามผู้สัมผัส
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 1.องค์ประกอบของทีมสอบสวนโรค 1.1 แพทย์ , พยาบาลโรคติดเชื้อ , จนท.ระบาดวิทยา 1.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการทำลายเชื้อใน สวล. จาก ส่วนกลาง/สคร./สสจ. ก็ได้ 1.3 ทีมสุขศึกษา ซึ่งมีการซักซ้อม การสื่อสารความเสี่ยงและการ เข้าชุมชนมาเป็นอย่างดี เพื่อลดความตื่นตระหนกของครอบครัว ชุมชน ลดหรือป้องกันการต่อต้านครอบครัวผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัย
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 2.อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในพื้นที่ 2.1 แบบฟอร์มสัมภาษณ์ผู้สัมผัส 2.2 แบบฟอร์มสำหรับติดตามผู้สัมผัส 2.3 อุปกรณ์ที่ใช้ทำลายเชื้อและการนำส่งต่อเพื่อ กำจัด 2.4 เอกสารหรือสื่ออื่นๆ ที่ช่วยในการให้ข้อมูลกับชุมชน/การปฏิบัติตัวของครอบครัวผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัย ภายหลังการทำลายเชื้อ
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 3.ขั้นตอน 3.1 ประสาน จนท. รพ.สต.เพื่อนัดหมายเวลา และแจ้งผู้นำชุมชน 3.2 กรณีเข้าเกณฑ์ต้อง กักกัน ต้องเชิญ นพ.สสจ.หรือ สาธารณสุขอำเภอ หรือ อปท. มาในบทบาทผู้มีอำนาจตามกฎหมายในการทำหน้าที่กักกัน
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 3.3 ทีมสอบสวนจัดเตรียมชุด PPE เต็มที่ -Hood /surgical mask/ N-95 mask/กาวน์กันน้ำแขนยาว/ แว่นตาป้องกันตาหรือ face shiled/ถุงมือ/ ถุงคลุมรองเท้า และรองเท้าบูท ** อุปกรณ์ต้องมีขนาดเหมาะสมกับผู้สวมใส่**
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 3.4 เตรียมถุงพลาสติกขนาดใหญ่สำหรับใส่ชุด PPE และอุปกรณ์ที่ใช้แล้วเพื่อส่งทำลายเชื้อ 3.5 เข้าสัมภาษณ์ โดยแจ้งเหตุผลในการขอสัมภาษณ์ - บอกให้ชัดเจนว่า ยังไม่ทราบชัดเจนว่าผู้ป่วยป่วยจากสาเหตุใด เพียงแต่มีประวัติเสี่ยงจำเป็นต้องระมัดระวังกว่าปกติ - ให้ข้อมูลเบื้องต้น ว่าต้องมีการติดตามอาการวัดไข้ผู้สัมผัสเป็นเวลา 21 วันหลังการสัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย
การติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชนการติดตามผู้สัมผัสโรคในชุมชน 3.6 ในรายที่มีอาการ ส่งต่อไปโรงพยาบาล โดยทีมแพทย์เป็นผู้ประเมินอาการ 3.7 ในรายที่ไม่มีอาการป่วย แยกกลุ่มเป็น กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงต่ำ
แนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัสแนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัส 1. กรณีผู้สัมผัส เข้าเกณฑ์เสี่ยงสูง High risk หากสัมผัสผู้ป่วยที่มีอาการไข้ ร่วมกับอาการอื่นๆ แต่ยังไม่เข้านิยามผู้ป่วยสงสัย ดำเนินการดังนี้ - ถ้าผู้ป่วยอาการรุนแรง หรือน่าสงสัยมาก แยกตัวผู้สัมผัสไว้สังเกตอาการในที่ที่จัดไว้ หรือ ให้สังเกตอาการที่บ้าน จนกว่าจะครบระยะติดตาม หรือได้ผลตรวจเป็นลบในผู้ป่วย - ถ้าผู้ป่วยอาการน้อย ไม่รุนแรง ให้จำกัดการเดินทาง ( controlled movement) ผู้สัมผัส และทำการติดตามอาการและวัดไข้ทุกวัน จนครบ 21 วันหลังวันสัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย หรือได้ผลตรวจเป็นลบในผู้ป่วย
แนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัสแนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัส 2. กรณีผู้สัมผัส เข้าเกณฑ์เสี่ยงต่ำ Low ให้จำกัดการเดินทาง ( controlled movement) และทำการติดตามอาการและวัดไข้ทุกวัน จนครบ 21 วันหลังวันสัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย หรือได้ผลตรวจเป็นลบในผู้ป่วย
แนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัสแนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัส • กรณีผู้สัมผัสของผู้ป่วยที่เข้าได้ตามนิยาม ผู้ป่วยสงสัย หรือ ผู้ป่วยน่าจะเป็น หรือผู้ป่วยยืนยัน • ให้ดำเนินการกักกันผู้สัมผัสที่เข้าเกณฑ์เสี่ยงสูงในสถานที่ที่มีการกำหนดไว้
แนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัสแนวทางการดำเนินการกับผู้สัมผัส การติดตามอาการผู้สัมผัส 21 วัน หมายถึง การติดตามอาการไข้ของผู้สัมผัส โดยการติดตามบันทึกอุณหภูมิผู้สัมผัส วันละ 2 ครั้ง นาน 21 วัน หลังจากสัมผัสผู้ป่วย ครั้งสุดท้าย - หากผู้สัมผัสมีไข้ > 38.5..C (101 F) ให้จัดเป็นผู้ป่วยใหม่และ แยกออกจากผู้อื่น – เฝ้าระวังในพื้นที่ระบาดนาน 2 เท่าของระยะฟักตัว (21 x2=42 วัน) หลังจากวันที่ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือจําหน่ายออกจาก รพ. การติดตามผู้ป่วยและผู้สัมผัส
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 1 ประวัติผู้สัมผัส รหัสผู้สัมผัส ชื่อ…………………สกุล......................... เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง อายุ.........ปี วัน/เดือน /ปีเกิด...................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน)............................................................ที่ทำงาน ...............................................หมายเลขโทร....................................... ส่วนที่ 2 ชนิดของการสัมผัส ( ) บุคลกรทางการแพทย์ กรุณาให้รายละเอียดในส่วนที่ 3( ) สมาชิกในบ้าน กรุณาให้รายละเอียดในส่วนที่ 4( ) ผู้ร่วมเดินทาง กรุณาให้รายละเอียดในส่วนที่ 5( ) อื่นๆ กรุณาให้รายละเอียดในส่วนที่ 6 กรณีอื่นๆ (โปรดระบุ)......................................................................................................
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 3 ผู้สัมผัสที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ ตำแหน่ง................................. ( ) จนท.ทำความสะอาด ( ) แพทย์ ( ) ผู้ช่วยพยาบาล ( ) พยาบาล ( ) นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ( ) เภสัชกร ( ) อื่นๆ ระบุ 1.ท่านสัมผัสผู้ป่วยโดยตรงหรือไม่เช่นการรักษาผู้ป่วยประจำวัน( ) ใช่ ( )ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ ถ้าใช่ ท่านใส่ PPE หรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ PPE ที่ใส่ ( ) ถุงมือ ( ) หน้ากาก ( ) เสื้อกาวน์ ( )แว่นสำหรับป้องกันการติดเชื้อ2.ท่านสัมผัสสารคัดหลั่งผู้ป่วยหรือไม่ ( ) ใช่ ( )ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ ถ้าใช่ ท่านใส่ PPE หรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ PPEที่ใส่ ( ) ถุงมือ ( ) หน้ากากชนิด............ทำ fiftest ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) เสื้อกาวน์ ( ) แว่นสำหรับป้องกันการติดเชื้อ 3. ท่านมีผิวหรือเยื่อบุใด ที่ไม่ได้ป้องกันการติดเชื้อจากสารคัดหลั่งของ ผู้ป่วยหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 3 ผู้สัมผัสที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ (ต่อ) 4. ท่านอยู่ในทีมช่วยชีวิตผู้ป่วยหรือไม่ ( ) มีหน้าที่อย่างไร.............. ( )ไม่ใช่ 5. กรณีผู้ป่วยเสียชีวิต ท่านอยู่ในทีมผ่าศพหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ อธิบายรายละเอียดที่ท่านสัมผัสผู้ป่วย................................................................................... ระยะเวลาที่สัมผัสผู้ป่วย...................................................................................... วันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งแรก....................................วันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย...................... การประเมิน 1.กรณีข้อ 1-5 ตอบไม่ใช่ทั้งหมด หมายถึง ไม่เสี่ยง/ผู้สัมผัสผู้ป่วยโดยบังเอิญ 2.กรณีข้อที่ 1หรือ 2 ตอบใช่ และใส่ PPE หมายถึง เสี่ยงต่ำ/สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด 3.กรณีข้อ 1 หรือ 2 ตอบใช่ และไม่ได้ใส่ PPE อย่างเหมาะสม หรือ 3-4-5 ตอบใช่ หมายถึง เสี่ยงสูง
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 4 ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย ( ) สามี ภรรยา คู่นอน ( ) คู่รัก ( ) บุตร ( ) ญาติ ( ) เพื่อนร่วมบ้าน ( ) อื่นๆ ระบุ............. 1.ท่านได้อยู่อาศัยร่วมกันกับผู้ป่วยหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ให้ตอบส่วนที่ 5 เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีอาการป่วยท่านปฏิบัติดังนี้ 2. อยู่ร่วมห้องกับผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 3.มีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 4.จับมือกับผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 5.กอดผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 6.จูบผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 7.ดูแลผู้ป่วย ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 8.ท่านได้สัมผัสสารคัดหลั่งจากผู้ป่วยหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 9.ท่านได้สัมผัสเสื้อผ้าผู้ป่วยที่เปื้อนสารคัดหลั่งหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ 10. ข้อ 8หรือ 9 ตอบใช่ ท่านได้ใส่อุปกรณ์ป้องกันหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( )ไม่ทราบ
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 4 ผู้สัมผัสร่วมบ้าน (ต่อ) PPE ที่ใส่ ( ) ถุงมือ ( ) หน้ากากชนิด......... ทำ fit test ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) เสื้อกาวน์ ( ) แว่นสำหรับป้องกันการติดเชื้อ อธิบายรายละเอียดที่สัมผัสผู้ป่วย.................................................................................................... ระยะเวลาที่สัมผัสผู้ป่วย......................................................... วันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งแรก.................................วันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย..................... กรณีเฉพาะข้อ 1 = เสี่ยงต่ำ /สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด กรณีข้อ 2,4,5 หรือ 7 ตอบใช่ และข้อ 8 ตอบไม่ = เสี่ยงต่ำ /สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด กรณีข้อ 3 หรือ 6 ตอบใช่ ข้อ8,9 ใช่ ข้อ 10 ไม่ใช่ = เสี่ยงสูง /สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิดที่เสี่ยงสูง
แบบสอบสวนผู้สัมผัส ส่วนที่ 5 ผู้สัมผัสมีประวัติการเดินทางร่วมกับผู้ป่วย ประเภทผู้โดยสาร ( ) ผู้ร่วมโดยสาร ( ) นักบิน/ผู้ขับ ( ) แอร์โฮสเตส/ไกด์ ( ) อื่นๆระบุ กรณีโดยสารเครื่องบิน สายการบิน............................เที่ยวบิน....................................................... ตำแหน่งที่นั่ง...............แถวที่.....................................เลขที่นั่ง.......................................................... กรณีจำแถวและเลขที่นั่งไม่ได้ ท่านนั่งที่ไหน ( ) ด้านหน้าของเครื่องบิน ( ) ด้านหลังของเครื่องบิน ( ) ด้านข้างของทางออกฉุกเฉิน ( ) ทางเดินตรงกลาง ( ) นั่งติดหน้าต่าง ( ) นั่งใกล้ห้องน้ำ ( ) ชั้นประหยัด ( ) ชั้นธุรกิจ/พรีเมี่ยม/ชั้นหนึ่ง ( ) บริเวณปีกเครื่องบิน 1.ท่านสัมผัสผิวหนังหรือเยื่อเมือกที่มีโอกาสมีเชื้อสูงโดยที่ไม่ได้ป้องกันหรือไม่ เช่นจูบ/มีเพศสัมพันธ์ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ 2. ท่านสัมผัสสารเหลว เหงื่อ หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วยหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ทราบ ระยะเวลาที่สัมผัสPt..............วันที่สัมผัสPtครั้งแรก..........วันที่สัมผัสPtครั้งสุดท้าย....... การประเมิน กรณีไม่ได้สัมผัสผู้ป่วยโดยตรง = ไม่เสี่ยง /ผู้สัมผัสผู้ป่วยโดยบังเอิญ กรณีข้อ 1หรือ 2 ตอบใช่ = เสี่ยงสูง