1 / 35

การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคล โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา

การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคล โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. TQM TQA PMQA CQA ระบบประกันคุณภาพ การศึกษา. มุมมองเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย

nika
Download Presentation

การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคล โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคลการถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคล โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. TQM TQAPMQACQAระบบประกันคุณภาพ การศึกษา

  3. มุมมองเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น กลยุทธ์ ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน 3. การมุ่งเน้น 6. การจัดการ ผู้ใช้บริการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  4. หมวด 1 การนำองค์กร - การนำองค์กรโดยผู้บริหาร - ธรรมาภิบาล

  5. หมวด 2 การวางแผนกลยุทธ์ - การจัดทำแผนกลยุทธ์ - การนำแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ

  6. หมวด 3 การมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ - ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ - ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ

  7. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ - การวัด การวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุง ผลการดำเนินงาน - การจัดการสารสนเทศ ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

  8. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล - การสร้างความผูกพันของบุคคลต่อองค์กร - ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของบุคลากร

  9. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ - การออกแบบระบบงาน - การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการ ทำงาน

  10. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินงาน - การประเมินผล

  11. การถ่ายทอดตัวชี้วัด

  12. ขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัดขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัด 1. การยืนยันทิศทางองค์กร - วิสัยทัศน์ - พันธกิจ - ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. การกำหนดเป้าประสงค์ 3. การสร้างแผนที่กลยุทธ์ 4. การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละเป้าประสงค์ ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล

  13. ทิศทางองค์กร(Organizational Direction) • วิสัยทัศน์ (VISION) • พันธกิจ(MISSION) • วัตถุประสงค์/เป้าประสงค์ (OBJECTIVES)

  14. วิสัยทัศน์ • Dream, Aspiration, Intent • จุดมุ่งหมายในภาพรวม • สิ่งที่ต้องการจะเป็น • จุด/สถานะที่องค์กรต้องการยืนอยู่หรือจะเป็นในอนาคต

  15. ลักษณะของวิสัยทัศน์ • ถ้อยแถลง/คำประกาศเชิงบวก • กะทัดรัด แต่เข้าใจง่าย

  16. พันธกิจ • คุณค่าองค์กร (Basic Value) • ขอบเขตการดำเนินงาน • ลูกค้า/ผู้รับริการ • กิจกรรมหลัก • เอกลักษณ์/ความแตกต่างจากองค์กรอื่นใน อุตสาหกรรมเดียวกัน

  17. วัตถุประสงค์ - เป้าประสงค์ • ความสำเร็จที่องค์กรต้องการบรรลุ (ภายใต้มุมมองทั้ง 4 มิติ) • แปลงพันธกิจให้อยู่ในรูปผลลัพธ์ที่องค์กรต้องการ (กำหนดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น) • กำหนดสิ่งที่ต้องการจะทำ

  18. หลักการกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายหลักการกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมาย S = เฉพาะเจาะจง M = วัดค่าได้ (เชิงปริมาณ) A = เห็นตรงกัน/บรรลุผลได้ R = เป็นไปได้ในทางปฎิบัติ T = มีกรอบเวลาชัดเจน

  19. ตัวชี้วัด (KPIs) วัตถุประสงค์ - พัฒนาเกษตรกรให้มีรายได้สูงขึ้น KPIs + เป้าหมาย - 1) รายได้สูงขึ้น XXX บาท 2) รายได้สูงขึ้น xxx % จากปีที่ผ่านมา

  20. ลักษณะของ KPIs ที่ดี • สะท้อนตรง/สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ • สามารถวัดได้ และเป็นที่เข้าใจของบุคคลทั่วไป • มีความเฉพาะเจาะจง ชัดเจน และเข้าใจตรงกันทั้งองค์กร • สามารถบรรลุผลได้ โดยองค์กรสามารถควบคุมให้เกิดผลได้โดยตรง • ควรประกอบด้วยตัวชี้วัดที่องค์กรสามารถควบคุมได้อย่างน้อยร้อยละ 80 • ไม่ใช้ต้นทุนการวัดที่สูงเกินไป • สามารถวัดผลการปฏิบัติงานได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด • ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ

  21. ลักษณะของ KPIs ที่ดี (ต่อ) 9. ควรแสดงเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้น 10. ต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานรับผิดชอบทุกตัว 11. สามารถติดตามสถานการณ์ และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้ 12. ต้องไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในองค์กร 13. สะท้อนถึงผลการดำเนินงานที่แท้จริง 14. สามารถนำไปเปรียบเทียบกับหน่วยงาน/หน่วยงานอื่น/ ผลงานในอดีต 15. ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เป็นเหตุ (Lead Indicators) และผล (Lag Indicators) 16. ใช้หลัก SMART

  22. แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) แผนผังแสดงความเชื่อมโยงเชิงเหตุและผลของ กลยุทธ์หรือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่องค์กรจะใช้เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์

  23. Balanced Scorecard

  24. การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมุมมอง การเงิน ลูกค้า กระบวนการภายใน การเรียนรู้และพัฒนา

  25. ลูกค้า กระบวนการ วัตถุประสงค์ การเงิน ภายใน เชิงกลยุทธ์ การเรียนรู้และพัฒนา

  26. วิสัยทัศน์ S 8 S 9 มุมมองด้านการเงิน S 6 S 7 มุมมองด้านลูกค้า S 3 S 4 S 5 มุมมองด้านกระบวนการภายใน กลยุทธ์/วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ - S1 S 2 มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา แผนที่กลยุทธ์

  27. มุมมองด้านการเงิน วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย โครงการ มุมมองด้านกระบวนการภายใน วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย โครงการ มุมมองด้านลูกค้า วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย โครงการ วิสัยทัศน์ และ กลยุทธ์ มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย โครงการ

  28. ตัวอย่างแผนที่กลยุทธ์ (แสดงในรูปวัตถุประสงค์) วิสัยทัศน์ มุมมองด้านการเงิน กำไรเพิ่ม ต้นทุนต่ำลง รายได้เพิ่ม มุมมองด้านลูกค้า เครื่องขึ้น-ลงตรงเวลา ลูกค้าเพิ่ม ราคาต่ำสุด มุมมองด้านกระบวนการภายใน ปรับปรุงการหมุนเวียนของเครื่อง มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา ลูกเรือมีความพร้อม

  29. เกณฑ์การประเมิน 4 มิติ • มิติด้านประสิทธิผล • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • มิติด้านการพัฒนาองค์กร

  30. คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ตามพันธกิจ การพัฒนาองค์กร

  31. ความเชื่อมโยงแผนการบริหารราชการแผ่นดินความเชื่อมโยงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นยุทธศาสตร์ ทส ประเด็นยุทธศาสตร์ อส ประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน

  32. ความเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และโครงการ วิสัยทัศน์ อส พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ อส เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ

  33. แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) วิสัยทัศน์ : ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์

  34. สวัสดี

More Related