140 likes | 351 Views
“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อ เอช ไอวี/เอดส์”. www.aidsstithai.org. กรอบแนวคิดการทำงาน. Condom. ARV. เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อ สู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม.
E N D
“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์” www.aidsstithai.org
กรอบแนวคิดการทำงาน Condom ARV เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อ สู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุมดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2556 - 2558
ระบบบริการที่มีอยู่สำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยงระบบบริการที่มีอยู่สำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยง STI services: ระบบบัตรทอง • ข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเสี่ยง • การรับบริการข้ามเขตไม่ได้ • การบริการกระจุกตัวอยู่เฉพาะโรงพยาบาลจังหวัด • จำนวนการเข้าถึงบริการที่ลดลง, ความถี่ของการตรวจที่ลดลง ใน SW • ข้อจำกัดในเรื่องสถานบริการ • ความสนใจของพื้นที่ต่องานบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • ขาดการให้บริการเชิงรุก • งบประมาณ PP เพื่อการให้บริการด้าน STI ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ • ความพร้อมของระบบบริการ : ไม่ friendly, ไม่มีความรู้ความชำนาญในประชากรกลุ่มเสี่ยง • ไม่มีรูปแบบบริการที่ชัดเจน VCT services • การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก • ผู้ให้บริการ ไม่รู้จักหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการกับกลุ่มที่มีความเสี่ยง • การส่งต่อ หรือระบบส่งต่อกรณี positive 2/3 ของ FSW เป็นผู้ถือบัตรทอง แต่ ปัญหาคือ 60%ของผู้ถือบัตรทองไม่สามารถใช้สิทธ์ในพื้นที่ที่อาศัยปัจจุบันหรือทำงานอยู่ เนื่องจากไม่ได้ทำงานอยู่ในภูมิลำเนา (UNFPA:2550)
ปัญหาสำคัญของงานบริการ STI/PICT ด้านระบบบริการ • การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก • การจัดระบบที่ไม่ชัดเจนในหลายพื้นที่ • ผู้ให้บริการไม่รู้จักกลุ่มเป้าหมายหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการ • การส่งต่อหรือระบบส่งต่อกรณี positive • ยังมีความครอบคลุมต่ำในบางกลุ่มประชากร และ การเข้าถึงการดูแลรักษาที่ช้า ด้านงานคุณภาพบริการ • การให้บริการยังไม่ได้ครบตามมาตรฐานของ STI management • ขาดการคัดกรองโรคในผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงซึ่งยังไม่มีอาการ • ความครอบคลุมของบริการ PICT ยังต่ำ ด้านผู้รับบริการ • กลุ่มเสี่ยงไม่อยากไปรับบริการใกล้บ้าน • กลุ่มเสี่ยงยังไม่ตระหนักถึงการป้องกันโรค • กลุ่มเสี่ยงยังเข้าไม่ถึงอุปกรณ์ป้องก้นโรค
แผนงานโครงการฯ โดยสำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุม ดูแลรักษาโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เป้าประสงค์ เพื่อให้ประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีลดความเสี่ยงและทราบสถานะการติดเชื้อ รวมทั้งได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาเอชไอวี/เอดส์ในผู้ที่มีผลเลือดบวก วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยงานป้องกันควบคุมดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • เพื่อพัฒนาระบบบริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รวมทั้งบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดเอชไอวี (PICT) • เพื่อคุณภาพงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดการปรึกษาเพื่อตรวจเลือด การดูแลรักษาโรค การป้องกันโรค • เป้าหมาย • ลดการกระจายโรค • ลดการป่วย การตายจากการตืดเชื้อเอชไอวี • เป้าหมาย • ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ • ในผู้ที่ผลเป็นบวก: ได้เข้าสู่การดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ • แนวทางการดำเนินงาน • ปรับเปลี่ยน/ลดพฤติกรรมเสี่ยง • การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัคร • การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น • การให้ความรู้เรื่องเอดส์/STI เพื่อสร้างความตระหนัก • การให้การปรึกษาเบื้องต้นเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง • การสื่อสารเพื่อปรับเปลียนพฤติกรรม • ส่งเสริมการเข้าถึงบริการการปรึกษา/คัดกรองโรค • การบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี • การตรวจคัดกรอง STI • แนวทางการดำเนินงาน • การเข้าถึงบริการในผู้ที่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ • การจัดบริการให้การปรึกษาที่เป็นมิตร • การจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจเลือดที่ทราบผลในวันเดียว • การตรวจคัดกรองและการดูแลรักษา STI • แนวทางการดำเนินงาน • การส่งเสริมสุขภาพ • การลดพฤติกรรมเสี่ยง (สารเสพติด ความเสี่ยงทางเพศ การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น) • การเปิดเผยผลเลือดและการตรวจเลือดคู่นอน • ด้านจิตใจและสังคม • การติดตามสถานะการติดเชื้อเอชไอวี • การตรวจติดตามระดับ CD4 • การคัดกรองโรคร่วม • การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส • การติดตามการกินยาต้านไวรัส รูปแบบการดำเนินงานที่บูรณาการงาน Prevention and Care การเชื่อมโยงระบบส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ
ชุมชน หน่วยบริการสาธารณสุข การส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกันโรค การดูแลรักษา ลดการกระจายโรค/ป่วย/ตาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ±HIVnegative Prevention ±VCT +Care ±STI HIV+ prevention กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดย สสจ. การสร้างเครือข่ายระดับเขต
Getting to Zero New HIV Infections Focus where most new infections occur... Geographic Focus: Population Groups: (Mode of Transmission) 6% 32% 70% of new HIV infections happen in 31 provinces 41% 10% 94% of new infections 11% 41%
แผนการดำเนินงาน • การสนับสนุนงานบริการ • งบประมาณสนับสนุนงานคัดกรอง ดูแลรักษาโรคและตรวจเลือด HIV • ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการ • การจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาและบริการที่เป็นมิตรในงาน STI • บริการคัดกรอง STI และ HIV การให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • สร้างระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงในหน่วยบริการ • การพัฒนางานบริการโดยใช้รูปแบบ STIQUAL • การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรผู้ให้บริการ • พัฒนาหลักสูตรอบรมสำหรับผู้ให้บริการ ความเข้าใจในมาตรฐานการคัดกรองและรักษาโรค STI • อบรมทักษะการสื่อสารกับผู้มารับบริการ เจ้าของสถานบริการถึงความสำคัญของการคัดกรองโรค • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนงาน พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สร้างกลไกขับเคลื่อน ติดตามการดำเนินงาน ประสานแผนงานกับงานอื่นๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดระบบบริการ ให้บริการที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงงานที่เกี่ยวข้องในหน่วยบริการ หน่วยบริการ โรงพยาบาล รพสต.
ผลที่คาดหวังจากการดำเนินงานผลที่คาดหวังจากการดำเนินงาน • บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้มาตรฐานสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ได้มาตรฐาน • การสนับสนุนการใช้ถุงยางอนามัยในทุกกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • การให้สุขศึกษาและการปรึกษาเรื่องโรคและการป้องกันโรค STI/HIV • การให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อทราบสถานะและเข้าสู่ระบบบริการดูแลรักษาในผู้ทีมีผลเลือดบวก • เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • การพัฒนาคุณภาพงานบริการด้านการคัดกรอง ดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์