1 / 23

ผู้นำเสนอ นางสาวจรีลักษณ์ รักษ์กิตติสกุล

การพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการควบคุมอุณหภูมิ ทารกเกิดก่อนกำหนดที่อยู่ในตู้อบ โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. ผู้นำเสนอ นางสาวจรีลักษณ์ รักษ์กิตติสกุล อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรัสศรี เย็นบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริศนา สุนทรไชย.

niles
Download Presentation

ผู้นำเสนอ นางสาวจรีลักษณ์ รักษ์กิตติสกุล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการควบคุมอุณหภูมิทารกเกิดก่อนกำหนดที่อยู่ในตู้อบโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ • ผู้นำเสนอ นางสาวจรีลักษณ์ รักษ์กิตติสกุล • อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรัสศรี เย็นบุตร • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริศนา สุนทรไชย

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ด้านทารก ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการปฏิบัติ preterm ภาวะอุณหภูมิกายผิดปกติ

  3. Preterm

  4. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาCPG 2. เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้CPG ต่ออุบัติการณ์ภาวะอุณหภูมิกายต่ำและภาวะอุณหภูมิกายสูง 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้ CPG

  5. กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัยกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย สภาวิจัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขแห่งชาติของประเทศออสเตรเลีย (National Health and Medical Research Council, 1998)

  6. วิธีการดำเนินการวิจัย วิธีการดำเนินการวิจัย วิจัยเชิงพัฒนา (Developmental research) กลุ่มประชากร 1. ทารกเกิดก่อนกำหนดทุกรายที่อยู่ในตู้อบ2. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งปฏิบัติงานใน NICU

  7. กลุ่มตัวอย่าง 1. ทารกเกิดก่อนกำหนดทุกรายที่อยู่ในตู้อบก่อนการใช้ CPG 20 รายหลังการใช้ CPG 10 ราย 2. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งปฏิบัติงานใน NICU ระหว่างที่ใช้ CPG (แพทย์ พยาบาล และผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย)รวม 25 ราย

  8. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

  9. การพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่างการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง

  10. การดำเนินการวิจัย 1. กำหนดหัวข้อ ทีมผู้พัฒนา และวัตถุประสงค์ 2. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ 3. ค้นหาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์

  11. การดำเนินการวิจัย 4. ยกร่างแนวปฏิบัติ 5. ให้ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องประเมินร่างแนวปฏิบัติ 6. ทดลองใช้แนวปฏิบัติ

  12. การดำเนินการวิจัย 7. ทำแผนการเผยแพร่ การนำไปใช้ การประเมินผลและการปรับปรุงแนวปฏิบัติ 8. นำแนวปฏิบัติไปใช้ 9. ประเมินผลลัพธ์

  13. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวัดค่าความเสี่ยง (Relative Risk) ของการเกิดภาวะอุณหภูมิต่ำและภาวะอุณหภูมิสูงของทารก ก่อนและหลังการใช้ CPG 2. การจำแนกความถี่ ร้อยละ ของความคิดเห็นของผู้ใช้ CPG

  14. แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการควบคุมอุณหภูมิแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการควบคุมอุณหภูมิ ประกอบด้วยแนวปฏิบัติ 3 ด้าน 1. ด้านทารก 2. ด้านสิ่งแวดล้อม 3. ด้านการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่

  15. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. กลุ่มทารกก่อนการใช้ CPG มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุณหภูมิต่ำเป็น 2.27 เท่าของกลุ่มทารกที่ได้รับการใช้ CPG 2. กลุ่มทารกก่อนการใช้ CPG มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุณหภูมิสูงเป็น 4.44 เท่าของกลุ่มทารกที่ได้รับการใช้ CPG

  16. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มผู้ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกมีความคิดเห็นว่า -มีความง่ายในการปฏิบัติ -มีความชัดเจน -มีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ -มีความถูกต้อง ตรงประเด็น -มีความพึงพอใจ มากกว่าร้อยละ 80

  17. ปัญหาในขั้นตอนการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกปัญหาในขั้นตอนการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก -ระดับความน่าเชื่อถือและคุณภาพของหลักฐานส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 -ความจำกัดด้านโครงสร้างและการทำหน้าที่ของร่างกายที่ไม่สมบูรณ์ -ภาวะเจ็บป่วยเปลี่ยนแปลงได้ง่ายและเกิดขึ้นตลอดเวลา -มีความเปราะบางมีโอกาสเกิดภาวะเสี่ยงที่เป็นอันตรายค่อนข้างสูง

  18. ปัญหาในขั้นตอนการนำมาใช้ปัญหาในขั้นตอนการนำมาใช้ ด้านทารกการใช้ CPG ใน VLBW, Sepsis ด้านสิ่งแวดล้อมการใช้ตู้อบร่วมกับ photo ที่ไม่มีพัดลมระบายความร้อน ด้านบุคลากรพยาบาล ความจำกัดด้านจำนวนบุคลากรพยาบาล ต่อ จำนวนผู้รับบริการ

  19. ปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก 1. การพัฒนา CPG จากสหสาขาวิชาชีพ 2. การตระหนักถึงความสำคัญและความรู้สึกเป็นเจ้าของ CPG 3. ความครอบคลุมของ CPG 4. การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ CPG ที่เป็นระบบและต่อเนื่อง

  20. ปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก 5. การดูแล ติดตาม ให้คำแนะนำการใช้ CPG อย่างใกล้ต่อเนื่อง 6. การใช้ความคิดเห็นของผู้ที่มีชื่อเสียงด้านการดูแลทารกแรกเกิด 7. การเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของหน่วยงานที่ดูแลทารกแรกเกิดอื่นๆ

  21. ข้อเสนอแนะ การนำแนวปฏิบัติทางคลินิกฉบับนี้ไปใช้ในสถาบันอื่นๆ ควรพิจารณาความพร้อมในด้านต่าง ๆ เช่น -ด้านสถานที่ -ด้านบุคคลกร -ด้านอุปกรณ์

  22. ขอบคุณค่ะ

More Related