180 likes | 374 Views
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA). เป้าหมาย. ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน. แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS). DHS.
E N D
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอDISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATIONAND APPRECIATION(DHSA)
เป้าหมาย ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน
แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) DHS
การดูแลที่จำเป็นตามบริบทของพื้นที่(Essential care) การทำงานจนเกิดคุณค่า(Appreciation) 2°, 3°care การมีส่วนร่วม แบบบูรณาการ(Community participation) District Health System Development(DHSD) ปัญหาร่วม Health วิสัยทัศน์ร่วม - Individual care- Home care- Community care การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร(Resource sharing and human development) การทำงานเป็นทีมของเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (Unity District Health Team)
Conceptual Framework of DHS Development Specialist Provincial Hospital Unity of District Health Teams(รพ.ชุมชน–สสอ.–รพ.สต.–อปท.–ชุมชน ) Other Sectors CBLCommon GoalCommon ActionCommon Learning Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value • Satisfaction • Happiness • Clinical Outcomes • Morbidity • Mortality • Quality of Life
255 DHS 21+25 สพช 30
Essential Care • ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน • พึ่งตนเองได้ในความเจ็บป่วยที่พบบ่อย • โรคเรื้อรังสำคัญ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถควบคุม และดูแลได้ในชุมชน • มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ • ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน • เกิดการสร้างสุขภาวะของชุมชน โดย ความเข้มแข็งของชุมชน มีภูมิคุ้มกัน • อ.ประเวศ วะสี DHS ปัญหาร่วม - Unity district health team - Resource sharing - Community participation - Appreciation การตอบสนอง - นโยบาย - ความต้องการของประชาชน - ความต้องการของหน่วยงาน - ความต้องการของภาคีเครือข่าย D&D L&G • Do &Development • Learning & Growth
ระบบสนับสนุน • กลไกส่วนกลาง คือ คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ ทีมเลขาฯ สำนักบริหารการสาธารณสุข • กระบวนการพัฒนาศักยภาพพื้นที่ มี 2 ส่วน คือ • ทีมสนับสนุนระดับพื้นที่ โดยผ่านคณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพระดับเขต และทีมพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ (โดยสำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน) เป็นตัวแทนที่มาจากฝ่ายประกันคุณภาพ งานปฐมภูมิ และงาน DHS เขตละ 5 คน ซึ่งจะพยายามประสานให้ทั้งสองส่วนเป็นทีมเดียวกัน • การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ โดย DHSA (21+25 แห่ง) และ สพช. (30 แห่ง) สามารถเชื่อมกระบวนการเรียนรู้ระหว่างกันได้ในเวทีทุกระดับ
การขยายพื้นที่การเก็บข้อมูลโดย saraphi application โดยอำเภอที่จะทำการเก็บข้อมูลนั้น ทำงานเรื่องชุมชน (care+health) มีเครือข่ายในพื้นที่
โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ.+เครือข่าย CORE TEAM ความสัมพันธ์แนวราบ อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี ไม้แก่น กะพ้อ ละงู องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ ODOP เชิงประเด็น
โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ. อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี ไม้แก่น กะพ้อ ละงู องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ เขต 12 ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล