1 / 35

การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน

การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน. พญ.รัตนา จิรกาลวิศัลย์ กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลหาดใหญ่ 1 พฤษภาคม 254 6. วัตถุประสงค์. 1. ความหมาย / แนวทาง การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน 2. กระบวน การดำเนินการ / ประเมินผล การส่งเสริมสุขภาพ 3. กลวิธีประเมิน ความเสี่ยงรายบุคคล

nitesh
Download Presentation

การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงานการส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน พญ.รัตนา จิรกาลวิศัลย์ กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลหาดใหญ่ 1 พฤษภาคม 2546

  2. วัตถุประสงค์ 1. ความหมาย / แนวทาง การส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน 2. กระบวนการดำเนินการ / ประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพ 3. กลวิธีประเมินความเสี่ยงรายบุคคล 4. โครงการและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงานได้ 5. หลักการ เหตุผล กิจกรรมโครงการที่ทำงานน่าอยู่

  3. โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานโรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน โรคที่เกิดจากการหลายสาเหตุร่วมกัน การทำงานเป็น ปัจจัยหนึ่งหรือมีส่วนให้เกิดอาการของโรครุนแรงขึ้น เช่น การปวดหลังของพนักงานโรงงานที่ต้องยืน และกรีดยางเป็นอาชีพเสริม โรคเครียดในพนักงาน

  4. โรคที่ไม่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานโรคที่ไม่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน โรคที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับการทำงานเป็นโรคที่ไม่ได้ มีสาเหตุจากการทำงาน ตัวอย่างเช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หลอดเลือดหัวใจ โรคทางเพศสัมพันธ์

  5. DALY –Disability Adjusted Life Year DALY = YLL + YLD ( YLL = years of life lost due to mortality YLD = years of life lost due to disability ) การสูญเสียปีสุขภาวะ ( DALY ) = ปีที่สูญเสียไปเพราะตายก่อนถึงวัยอันควร + ปีที่สูญเสียไปเพราะเจ็บป่วยหรือพิการ

  6. ชาย เอดส์ 16 % อุบัติเหตุจราจร 9 % หลอดเลือดสมอง 5 % มะเร็งตับ 4 % เบาหวาน 3 % หญิง เอดส์ 9 % หลอดเลือดสมอง 7 % เบาหวาน 6 % สมองเสื่อม 5 % โรคซึมเศร้า 3 % โรคที่เป็นสาเหตุของการสูญเสีย DALYประเทศไทย พ.ศ. 2542

  7. สาเหตุของการเกิดโรคคนทำงานสาเหตุของการเกิดโรคคนทำงาน 1. พฤติกรรมเสี่ยง 2. สภาพแวดล้อม

  8. เกี่ยวเนื่องกับงาน Long working hour Type A personality ไม่เกี่ยวเนื่องกับงาน Smoking Alcohol Sedentary life style Nutrition Drug abuse พฤติกรรมเสี่ยงในคนวัยทำงาน

  9. สาเหตุของการตายก่อนวัยอันสมควรสหรัฐอเมริกา พ.ศ 2523 บุหรี่ ความดันโลหิตสูง ภาวะโภชนาการเกิน เหล้า เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ

  10. Healthy Work Approach ( HWA ) A continuous process for the enhancement of the quality of working life , health and well-being of all working populations through environmental ( physical , psychological , organization , economic ) improvement , personal empowerment and personal growth ( WHO )

  11. 4 Fundamental Principles of HWA 1. Health Promotion 2. Occupational Health and Safety 3. Human Resource Management 4. Sustainable Development

  12. Ottawa Charter 1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 3.เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล 5. ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข

  13. Ottawa Charter การสร้างนโยบายที่เอื้อต่อสุขภาพ การพัฒนาทักษะ พฤติกรรม 50% สุขภาพ บริการสุขภาพ สิ่งแวดล้อม อื่น ๆ 20% 20% การปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานสุขภาพ การปรับปรุง สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อ สุขภาพ 10% การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้รู้ และผู้กำหนดนโยบาย

  14. ประโยชน์ของโครงการส่งเสริมสุขภาพประโยชน์ของโครงการส่งเสริมสุขภาพ

  15. การบริหารโครงการ ( 1 ) 1. การจัดการทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผนโครงการ 3. การจัดองค์กร 4. การประสานและดำเนินงานโครงการ

  16. Program management ( 2 ) 5. การธำรงโครงการ 6. การตลาด 7. งบประมาณ 8. อุปกรณ์และการสนับสนุน

  17. การประเมินโครงการ 1. รูปแบบโครงการ 2. กระบวนการ 3. ผลลัพธ์

  18. การส่งเสริมสุขภาพ : Intervention focus 1 การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ การคัดกรอง โครงการ Fitness programs, Blood pressure control, cholesterol management Worksite nutritional and weight management Tobacco control and cessation

  19. การส่งเสริมสุขภาพ : Intervention focus 2 Self – care Wise use of medical care system and health resources Personal and Organization stress management Employee assistance program, Social health Injury prevention, Maternal and child health

  20. Healthy Workplace สถานที่ทำงานที่มีการจัดการให้เอื้ออำนวยต่อ คนทำงานทุกคน เกิดความสุขกาย สบายใจ ในการทำงาน

  21. แนวคิด Healthy Workplace การได้ทำงานในสภาพแวดล้อมที่ สะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีชีวิตชีวา

  22. แนวทางการดำเนินงาน 1. กำหนดนโยบายด้านสุขภาพและความปลอดภัย 2. กำหนดกฎระเบียบในการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ 3. ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนทำงานทุกคน 4. ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 5. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพต่าง ๆ ตามความต้องการ 6. ประสานงานกับหน่วยบริการสุขภาพ

  23. การประเมินเกณฑ์ 1. “สะอาด” 1. นโยบายและการกำหนดแนวปฏิบัติ 2. การดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

  24. เกณฑ์ 2. “ปลอดภัย “ 1. การบันทึกสุขภาพ 2. การดูแลอุปกรณ์ เครื่องจักร 3. สภาพการทำงานที่ปลอดภัย 4. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5. การป้องกันอัคคีภัย

  25. เกณฑ์ 3. “ ไร้มลพิษ” 1. ปลอดจากเสียงดัง / สั่นสะเทือน 2. สารเคมี 3. ขยะ / ของเสีย

  26. เกณฑ์ 4. “มีชีวิตชีวา” 1. การจัดทัศนียภาพรอบๆสถานที่ทำงาน 2. การจัดกิจกรรมนันทนาการ 3. การจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของคนงาน

  27. ตัวอย่างการดำเนินงาน 1. บริษัทยูนิลีเวอร์ไทยโฮลดิ้งส์ จำกัด 2. บริษัทปูนซิเมนต์ไทยจำกัด (โรงงานท่าหลวง สระบุรี) 3. Hatyai Healthy Hospital

  28. บริษัทยูนิลีเวอร์ไทยโฮลดิ้งส์ จำกัดโครงการที่ 1. บริษัทปลอดบุหรี่ 1. การเตรียมการ 2. การสร้างแนวร่วม 3. ช่วยเหลือผู้สูบบุหรี่ให้เลิกบุหรี่ 4. กำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ให้น้อยลง

  29. โครงการที่ 2 ลีเวอร์เพิ่มผลผลิต คุณภาพ ความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงาน มุ่งสู่ระดับมาตรฐาน การอบรม KYT การอบรมอาชีวอนามัย การจัดทำนโยบาย วิธีปฏิบัติ การทำงานเป็นกลุ่มเล็ก ๆ

  30. โครงการที่ 3 ลีเวอร์ใส่ใจชุมชน โครงการปลูกต้นไม้ 1 ล้านต้น การทำสวนหย่อมและสวนสาธารณะ

  31. บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(โรงงานท่าหลวง) นโยบายสุขภาพ / ความปลอดภัย / สิ่งแวดล้อม ได้รับ ISO 14000 และ มอก. 18000 สิ่งแวดล้อมทางสังคม : วารสาร ระบบพี่เลี้ยงช่วยพนักงานใหม่ การยืมเงินฉุกเฉิน บ้านพักตากอากาศ ทักษะส่วนบุคคล ครอบครัว ชมรมต่าง ๆ ชุมชนรอบ ๆ โรงงาน

  32. Health Promoting Hospital โรงพยาบาลที่ไม่เพียงแต่ให้บริการทางการแพทย์และ พยาบาลที่มีคุณภาพสูงแบบเบ็ดเสร็จเท่านั้น แต่ได้ พัฒนาภาพลักษณะองค์กรที่รวมจุดเน้นเรื่อง การส่งเสริมสุขภาพเข้าไว้ด้วย โดยพัฒนาโครงสร้าง และวัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ รวมทั้งการประสานงานอย่างแข็งขันกับชุมชน

  33. Hatyai Healthy Hospital ( 1 ) 1. “คุณภาพมาตรฐาน ทำงานสุขใจ ห่วงใยประชาชน” นโยบายการดูแลสุขภาพพนักงาน รพ. หาดใหญ่ - ตรวจสุขภาพก่อนเข้างาน ปฐมนิเทศ ฝึกอบรม - รายงานการขาดงานจากการเจ็บป่วย - การบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน - การตรวจสุขภาพประจำปี

  34. Hatyai Healthy Hospital ( 2 ) 2. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย - โครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม - การจัดการด้านความปลอดภัย - การจำกัดของเสียและป้องกันอัคคีภัย - การเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากการทำงาน ( IC )

  35. Hatyai Healthy Hospital ( 3 ) 3. การมีส่วนร่วมกิจกรรม 5 ส, QC, HA, ISO 4. ตรวจแก้ไขสภาพแวดล้อม 5. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยหน่วยงานและชมรม 6. ประสานกับ งานวิศวกรรมการแพทย์ มอ. กองช่าง ศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อม

More Related