1 / 16

PHP: Hypertext Preprocessor

บทที่ 6 Variable, Constant. PHP: Hypertext Preprocessor. สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบท. เพื่อทราบหลักการทำงานของ Web Server และติดตั้งได้ เพื่อทราบหลักการทำงานของภาษา PHP.

niyati
Download Presentation

PHP: Hypertext Preprocessor

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 Variable, Constant PHP:Hypertext Preprocessor สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

  2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบทวัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบท • เพื่อทราบหลักการทำงานของ WebServer และติดตั้งได้ • เพื่อทราบหลักการทำงานของภาษาPHP

  3. กิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการเรียนการสอน • บรรยายโดยผู้สอนและใช้เอกสารประกอบการสอนของผู้สอน • สอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ผ่านเครื่องฉาย • อภิปรายในชั้นเรียนร่วมกัน • ให้นิสิตค้นคว้าเพิ่มเติมจากตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้อง • ทำแบบฝึกหัดท้ายบท

  4. การประเมินผล • ประเมินผลจากการตอบคำถามและอภิปรายในชั้นเรียน • ทำแบบฝึกหัดท้ายบท • ทำรายงานส่ง

  5. ตัวแปร (Variable) • ตัวแปร (Variable) คือสิ่งทีใช้เก็บค่า (Value) หรือข้อมูล (Data) ไว้ชั่วคราว เพื่อที่เราจะนำค่า/ข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในภายหลัง ค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรอาจเป็นข้อความ เลขจำนวนเต็ม เลขจำนวนทศนิยม ค่าตรรกะ (จริง/เท็จ) วัน/เวลา หรืออื่นๆ

  6. การตั้งชื่อตัวแปร • ชื่อตัวแปรจะต้องประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายขีดล่าง (underscore) เท่านั้น และห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข ตารางชื่อแสดงชื่อตัวแปรที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้

  7. หมายเหตุ ภาษา PHP ถือว่าตัวอักษรเล็กกับตัวอักษรใหญ่ในชื่อตัวแปรแตกต่างกัน (Case Sensitive) ดังนั้นตัวแปรชื่อ $age แล้วต่อมากำหนดค่าให้ตัวแปร $Age คุณจะมีตัวแปร 2 ตัว ในหน่วยความจำที่เก็บค่าแยกกัน

  8. ชนิดข้อมูล (Data Type)

  9. การตรวจสอบชนิดข้อมูลของตัวแปรการตรวจสอบชนิดข้อมูลของตัวแปร • สำหรับใช้ตรวจสอบชนิดข้อมูลของตัวแปร โดยจะให้ผลลัพธ์เป็นชื่อชนิดข้อมูล ดังตัวอย่าง gettype.php • <?php • $i = -65535; //สร้างตัวแปร $iเก็บค่าแบบเลขจำนวนเต็ม • $f = 7.66; //สร้างตัวแปร $f เก็บค่าแบบเลขจำนวนทศนิยม • $s = "PHP: Hypertext Preprocessor"; //สร้างตัวแปร $s เก็บค่าสตริง • $b = FALSE; //สร้างตัวแปร $b เก็บค่าตรรกะ • echo gettype($i) . "<br>"; //แสดงชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร $i • echo gettype($f) . "<br>"; //แสดงชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร $f • echo gettype($s) . "<br>"; //แสดงชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร $s • echo gettype($b) . "<br>";//แสดงชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร $b • ?>

  10. การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปรการแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร • สามารถแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปรไปเป็นชนิดที่ต้องการได้โดยใช้ฟังก์ชั่น settype settype.php <?php $a = "123“;//สร้างตัวแปร $a เก็บค่าสตริง "123" settype($a, "integer");//แปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร $a ไปเป็นชนิดเลขจำนวนเต็ม $a = $a + 456; //เพิ่มค่าของตัวแปร $a ขึ้นอีก 456 echo $a . "<br>";//แสดงค่าของตัวแปร $a ออกมา $birthdate = "18 ตุลาคม พ.ศ. 2547";//สร้างตัวแปร $birthdateเก็บค่าสตริง settype($birthdate, "integer");//แปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร $birthdate echo $birthdate;////แสดงค่าของตัวแปร $birthdate ?>

  11. เทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยวกับสตริงเทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยวกับสตริง • สตริงแบบ Double quote (“”)จะตีความหมายตัวอักษรพิเศษที่อยู่ในสตริง เช่น $, {} และ \ โดยจะตีความหมายของคำสั่งหรือตัวแปร • สตริงแบบ Single quote (‘’)จะมองเห็นตัวอักขระแต่ละตัวอย่างตรงไปตรงมา โดยไม่ตีความหมายใดๆ <? $n="sanya"; echo "Hello $n<br>"; echo 'Hello $n'; ?> Literal หมายถึงค่าที่เขียนลงไปในโค้ดโปรแกรมโดยตรง คือเห็นเลยว่าเป็นค่าอะไร เช่น 123, “Hello”, TRUE เป็นต้น

  12. เทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยวกับสตริงเทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยวกับสตริง <?php $name = "สมชาย"; echo "บรรทัด 1 : สวัสดี $name ยินดีต้อนรับ" . "<br>\n"; echo 'บรรทัด 2 : สวัสดี $name ยินดีต้อนรับ' . "<br>\n"; $speed = 56; echo "บรรทัด 3 : เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่ความเร็ว{$speed}kbps" . "<br>\n"; echo "บรรทัด 4 : เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่ความเร็ว$speedkbps" . "<br>\n"; echo 'บรรทัด 5 : เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่ความเร็ว{$speed}kbps' . "<br>\n"; $value = 12.345; echo "บรรทัด 6 : ตัวแปร \$value มีค่าเท่ากับ $value" . "<br>\n"; echo 'บรรทัด 7 : ตัวแปร \$value มีค่าเท่ากับ $value' . "<br>\n\n"; echo 'บรรทัด 8 : <a href="www.iamsanya.com">ไอแอมสัญญา</a>' . "<br>\n"; echo "บรรทัด 9 : Hello 'PHP'" . "<br>\n\n"; echo "บรรทัด 10 : AAAAA\nBBBBB\tCCCCC" . "<br>\n"; echo 'บรรทัด 11 : DDDDD\nEEEEE\tFFFFF'; ?>

  13. ค่าคงที่ (Constant) • ค่าคงที่ (Constant) คือชื่อที่กำหนดขึ้นมาให้มีค่าหนึ่งๆ คล้ายกับตัวแปร แต่ต่างจากตัวแปรตรงที่มันจะมีค่านั้นไปตลอดโปรแกรมโดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น • define("HELLO", "สวัสดีค่ะ"); • define("VAT", 7);

  14. ค่าคงที่ (Constant) (ต่อ) constant.php <?php define("HELLO", "สวัสดีค่ะ");//กำหนดค่าคงที่ชื่อ HELLO ให้มีค่าเป็นสตริง "สวัสดีค่ะ" define("VAT", 7);//กำหนดค่าคงที่ชื่อ VAT ให้มีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม 7 $name = "พร้อมเลิศ"; echo HELLO . "คณ$name" . "<br>"; echo "ภาษีมูลค่าเพิ่มขณะนี้คิดในอัตราร้อยละ " . VAT; ?>

  15. สรุป • นิพจน์ (Expression) คือส่วนของโค๊ดโปรแกรมที่มีค่า เช่น ตัวแปร , Literal , ค่าคงที่ , การเรียกใช้ฟังก์ชั่นที่มีการส่งคืนค่ากลับมา รวมถึงการนำสิ่งต่างๆ เหล่านี้มาดำเนินการกันโดยใช้ตัวดำเนินการ ซึ่งจะได้นิพจน์ที่ซับซ้อนขึ้น • ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์ที่ใช้ดำเนินการกับค่าแล้วให้ผลลัพธ์เป็นค่าใหม่ โดยค่าที่ถูกดำเนินการเรียกว่า ตัวถูกดำเนินการ (Operand) ตัวดำเนินการส่วนใหญ่ในภาษา PHP ต้องการตัวถูกดำเนินการ 2 ตัว แต่บางตัวก็ต้องการตัวถูกดำเนินการเพียงตัวเดียว บางตัวก็ต้องการตัวถูกดำเนินการ 3 ตัว • ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) ใช้คำนวณทางคณิตศาสตร์ • ตัวดำเนินการสตริง (String Operator) ใช้เชื่อมต่อสตริง 2 ชุด เข้าด้วยกัน • ตัวกำหนดการกำหนดค่า (Assignment Operator) ใช้กำหนดค่าให้แก่ตัวแปร • ตัวกำหนดการเพิ่ม/ลดค่า (Incrementing / Decrementing Operator) ต้องการตัวถูกดำเนินการเพียงตัวเดียวซึ่งจะต้องเป็นตัวแปรเท่านั้น ทำหน้าที่เพิ่มค่าตัวแปรขึ้น 1 หรือลดค่าตัวแปรลด 1 การใช้งานมีทั้งระบุไว้หน้าตัวแปรและหลังตัวแปร ซึ่งความหมายแตกต่างกัน • ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison Operator) ใช้เปรียบเทียบค่า (นิพจน์) 2 ค่า แล้วให้ผลลัพธ์เป็นค่าตรรกะเสมอ • ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ (Logical Operator) ใช้ดำเนินการกับค่าตรรกะ แล้วให้ • ผลลัพธ์เป็นค่าตรรกะตามหลักตรรกะศาสตร์ • ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ (Operator Precedence) คือกฎที่กำหนดว่าในนิพจน์ที่มีการใช้ตัวดำเนินการตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปนั้น ตัวดำเนินการใดจะถูกทำก่อนหรือหลัง

  16. Thank You

More Related