1 / 90

ยินดีต้อนรับ

ยินดีต้อนรับ. ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต ๑๐ นายแพทย์สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย. วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๗ อาคารอำนวยการและผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลอุดรธานี. ประเด็นนำเสนอ ๑.ข้อมูลทั่วไป ๒. การพัฒนาคุณภาพบริการโรงพยาบาลอุดรธานี ๒.๑ แผนยุทธศาสตร์

noah-dunn
Download Presentation

ยินดีต้อนรับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต ๑๐ นายแพทย์สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๗ อาคารอำนวยการและผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลอุดรธานี

  2. ประเด็นนำเสนอ ๑.ข้อมูลทั่วไป ๒. การพัฒนาคุณภาพบริการโรงพยาบาลอุดรธานี ๒.๑ แผนยุทธศาสตร์ ๒.๒ การพัฒนาระบบบริการศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง ๒.๓ การพัฒนาระบบส่งต่อ ๒.๔ CMI ๓. แผนการดำเนินงานบริการปฐมภูมิ ๓.๑ พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๓.๒ ความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓.๓ การช่วยเหลือเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  3. การพัฒนาคุณภาพบริการ แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลอุดรธานี

  4. แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลอุดรธานีแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลอุดรธานี วิสัยทัศน์ เป็นโรงพยาบาลที่มีคุณภาพมาตรฐาน บริการประทับใจ ก้าวไกลพัฒนา พันธกิจ ให้บริการด้านสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนด้วยความมุ่งมั่น พัฒนาคุณภาพบริการ และวิชาการที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เข็มมุ่ง 1.บริหารความเสี่ยงทางคลินิก Clinical Risk 2.พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HA & HPH 3.นโยบายโรงพยาบาลพอเพียง

  5. ข้อมูลทั่วไป ขอบเขตการให้บริการ จำนวนเตียงผู้ป่วย ๘๐๖ เตียง เตียงผู้ป่วยหนัก ICU/ CCU ๔๘/๒ เตียง ห้องคลอด ๒๑ เตียง ห้องผ่าตัด ๑๒ เตียง Spinal unit ๘ เตียง Day care of Cancer ๑๒ เตียง ไตเทียม ๘ เตียง หอผู้ป่วย ๓๖ หอผู้ป่วย

  6. ปริมาณการให้บริการ

  7. อัตรากำลังแยกประเภทสาขาอัตรากำลังแยกประเภทสาขา

  8. บทบาท ระดับตติยภูมิชั้นสูง

  9. Excellence Trauma center Udonthani Hospital

  10. ผลลัพธ์การพัฒนา Critical Trauma careโดยกระบวนการTrauma Audit ต่อเนื่อง ลดการเสียชีวิตผู้บาดเจ็บที่ไม่สมควรตายลงได้ต่อเนื่อง

  11. การวางแผนแก้ไขปัญหา เพื่อเตรียมรองรับ ศูนย์อุบัติเหตุ ระดับที่ 1 จัดแบ่งระบบโครงสร้างการทำงาน เป็น trauma unit และ non trauma unit จัดเตรียม และจัดให้มี ระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการนำส่งข้อมูล จากต้นทางมายังโรงพยาบาลศูนย์ จัดอบรมด้านวิชาการ ด้านเทคโนโลยี ทั้งผู้ปฏิบัติรายใหม่ และผู้ปฏิบัติเดิม จัดหา เตรียมบุคลากร ทีมผู้ปฏิบัติ และอุปกรณ์ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

  12. การปรับสู่ Critical Trauma Care - Level I ปรับพื้นที่รวม ER- OR trauma – CT- Ward การเพิ่มทีมStaff EP/ATLS สู่การเปิด Training EP ปรับรายละเอียด กระบวนการตาม Check list Service Plan Trauma ของกระทรวง

  13. Exellence center - cancer udonthani hospital

  14. 5 อันดับโรคมะเร็งที่พบบ่อยในโรงพยาบาลอุดรธานี

  15. ขีดความสามารถในการรักษาในปัจจุบันขีดความสามารถในการรักษาในปัจจุบัน

  16. ขีดความสามารถของแม่ข่าย

  17. อัตราการส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่า อัตราการส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่า ระยะเวลารอคอยการผ่าตัด (วัน)

  18. ทิศทางการพัฒนา 1. การพัฒนาลูกข่ายในเครือข่ายสป.สช.เขต 8 ในโรคหลัก; - มะเร็งเต้านม - มะเร็งลำไส้ - มะเร็งปากมดลูก - มะเร็งท่อน้ำดี - มะเร็งต่อมน้ำเหลือง 2. การคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดีในจังหวัดอุดรธานี 3. Pain Management ในผู้ป่วยระยะสุดท้าย

  19. Excellence Cardiac center Udonthani Hospital

  20. Excellence Cardiac Center เป็นศูนย์โรคหัวใจที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เปิดบริการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open heartsurgery)ผ่าตัดผู้ป่วยรายแรก วันที่ 19 เมษายน 2555 ตรวจสวนหัวใจ มิถุนายน ปี 2555 ขยาย CCU เป็น 8 เตียง ประมาณ กรกฎาคม ปี 2555 พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเด็ก พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยในเครือข่ายโรคหัวใจแบบครบวงจร

  21. การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการดูแลผู้ป่วย ACS

  22. ผลการดำเนินงานพัฒนาวาร์ฟารินคลินิกผลการดำเนินงานพัฒนาวาร์ฟารินคลินิก

  23. การให้บริการตติยภูมิทางด้านทารกแรกเกิดการให้บริการตติยภูมิทางด้านทารกแรกเกิด Newborn Center

  24. การให้บริการตติยภูมิทางด้านทารกแรกเกิดการให้บริการตติยภูมิทางด้านทารกแรกเกิด ครอบคลุมรวม 7 จังหวัดในเขต สปสช 8 ประกอบด้วย อุดรธานี สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู เลย นครพนม และ บึงกาฬ และ รพช.ในเขต 7 จังหวัดนี้ แผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การจัดหาครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน และขั้นสูง 2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 3. การพัฒนาระบบส่งต่อ

  25. การดำเนินงานในปัจจุบันการดำเนินงานในปัจจุบัน 1.มีการจัดหาครุภัณฑ์พื้นฐานในรพ.ลูกข่าย และครุภัณฑ์ขั้นสูงในรพ.แม่ข่าย 2. พัฒนาโดยการเพิ่มจำนวนเตียงNICU จาก 8 เตียงเป็น 12 เตียง เพื่อลดความแออัด และรองรับจำนวนผู้ป่วยที่มากขึ้น (ปัจจุบันอัตราครองเตียงมากกว่า 100%) 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยมีการจัดประชุมวิชาการในเครือข่ายครอบคลุมทั้ง 7 จังหวัดและมีการนิเทศเครือข่าย 4. พัฒนาระบบส่งต่อโดยการทำระบบ fast tract เพื่อลดระยะเวลาจากห้องฉุกเฉิน ถึงหอผู้ป่วย NICU (สามารถลดเวลา จากมากกว่า30 นาที เป็น 17 นาที) 5. จัดทำระบบประเมินประสิทธิภาพการส่งต่อ โดยให้เป็นคะแนนด้านต่างๆ 6 ด้านและส่งข้อมูลไปที่สสจ และ รพลูกข่าย

  26. แผนพัฒนาต่อไปของเครือข่ายจ.อุดรธานีแผนพัฒนาต่อไปของเครือข่ายจ.อุดรธานี 1.จัดหาครุภัณฑ์เพิ่มเติม จากงบสปสช. 2. ประชุมวิชาการ โดยเน้นการประชุมเชิงปฏิบัติการ 3. นิเทศ รพช.ครอบคลุมทุกแห่ง 4. เพิ่มศํกยภาพของรพช.ในการดูแลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยให้สามารถใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด CPAP ได้ 5. จัดทำระบบสารสนเทศ คือ web site ของเครือข่าย ปัญหา และอุปสรรค 1.การขาดแคลนบุคลากรทั้งในรพ.แม่ข่ายและรพ.ลูกข่าย 2.ศักยภาพบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรพช. ทั้งในความรู้ทางวิชาการ และประสบการณ์การดูแลทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยง

  27. Stroke Fast Track

  28. High Volume , High risk , High cost จำนวนผู้ป่วย CVA ทั้งหมดและในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี จำนวนผู้ป่วย CVA 919 934 925 905 796 808 405 192 205 150 178 185 142 79

  29. ขั้นตอนที่ 1 การคัดกรองผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน ขั้นตอนที่ 2 การเข้าสู่กระบวนการ Stroke Fast Track และการประเมินเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 3 การประเมินทางระบบประสาทวิทยา ขั้นตอนที่ 4 การให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ขั้นตอนที่ 5 การดูแลผู้ป่วยภายใน 24 ช.ม แรกหลังให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ขั้นตอนที่ 6 การดูแลผู้ป่วยภายหลังให้ยา 24 ช.ม ไปแล้ว ขั้นตอนการดำเนินการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตันด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ

  30. จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ S: Standard (2) P: Process (13) O: Outcome (5) C: Complication (5) ตัวชี้วัดคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

  31. จัดตั้งคณะกรรมการโครงการฯจัดตั้งคณะกรรมการโครงการฯ ประชุมสหวิชาชีพ : ประสาทแพทย์ ประสาทศัลยแพทย์ รังสีแพทย์ พยาบาลER/OPD พยาบาล stroke unit เภสัชกร เจ้าหน้าที่Lab เจ้าหน้าที่ X-ray เตรียมสำรองยา rt-PA สำรองเลือด ทดสอบระบบ ประชาสัมพันธ์ ปฏิบัติจัดทำ care map จัดเวรแพทย์รับปรึกษา สำรองเตียงไว้รองรับตลอดเวลา เก็บข้อมูลติดตาม ประเมินผล การจัดทำโครงการ STROKE FAST TRACK 34

  32. ปี 2554 ให้ยาละลายลิ่มเลือด 3 ราย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ปี 2555 ให้ยาละลายลิ่มเลือด 5 ราย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สรุปผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน

  33. 1 ในระยะแรก เริ่มให้ยาในเวลาราชการก่อน เพราะ มี แพทย์ Neuro medicine ไม่เพียงพอ 2. case ที่ให้ยาเป็นคนที่อยู่ใกล้สถานบริการ เพราะ มาได้เร็วและทราบว่ามีระบบ stroke fasttrack แต่ผู้รับบริการส่วนมาก ไม่ทราบและมาช้ากว่าระยะเวลาที่จะให้ยาได้ 3. door to needle time ยังมาก เพราะ ระบบยังไม่มีประสิทธิภาพ และบุคลากร ยังไม่เข้าใจระบบ ปัญหาและอุปสรรค

  34. ผู้ป่วยบางรายหลุดจากการ screen ไปรอตรวจOPD ปกติ จำนวนผู้ป่วยที่มารับการรักษาช้า ยาหมดอายุเร็ว การเตรียมยา เครื่อง CT เสียบ่อย การชั่งน้ำหนัก ผลเลือด coagulogram ช้า ญาติไม่ยินยอม ปัญหาและอุปสรรคอื่นๆ 37

  35. พัฒนาให้แพทย์อายุรกรรมทุกคน สามารถ ดูและตัดสินใจให้ยาได้ และตลอด 24 ชม. มีแนวทางการ Consult ที่ได้ประสิทธิภาพ ให้ความรู้แก่บุคลากรในโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนที่เสียเวลา เช่น การขนย้าย Lab CT ยา การตามแพทย์ เป็นต้น จัดตั้ง Stroke Unit แผนพัฒนาต่อเนื่องในโรงพยาบาลอุดรธานี

  36. การเข้าถึงบริการให้ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการส่งต่อ โดยมีโรงพยาบาลอุดรธานีเป็นแม่ข่ายที่ให้ยาได้ ให้ รพช.ทุกแห่งเป็นลูกข่าย มีระบบstroke fast track และประสานงานแล้วส่งต่อให้เร็วที่สุด ให้ รพช.ที่พร้อมสามารถให้ยาได้หรือเป็นแม่ข่ายแก่โรงพยาบาลชุมชนใกล้เคียงได้ การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้แก่บุคลากร และประชาชนทั่งไปให้ทราบถึง อาการเตือนของ stroke และสามารถเข้าถึงบริการได้เร็วและมากขึ้น แผนพัฒนาต่อเนื่องร่วมกับเครือข่าย

  37. ขยายลูกข่ายให้ครอบคลุมทุกโรงพยาบาลชุมชน ในจังหวัดอุดรธานี ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชน ในการป้องกันและการเข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา จัดตั้ง stroke unit ขยายเวลาในการให้ยา rTPA ให้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยให้แพทย์อายุรกรรมทุกคนมีส่วนร่วม แผนดำเนินการใน ปี 2555

  38. ปัญหา และอุปวรรค ที่มีผลต่อการพัฒนางานระดับ ตติยภูมิชั้นสูง ภาพรวม ข้อจำกัดด้านสถานที่ กำลังคน ข้อจำกัดด้านขวัญและกำลังใจ แรงจูงใจในการทำงาน ข้อจำกัดด้านความไม่สมดุล ระหว่าง safety, quality และ utility ข้อจำกัดด้านการเชื่อมต่อกับภาคส่วนประชาชน

  39. เบาหวาน และความดันเลือดสูง

  40. Primary Prevention การคัดกรอง DM, HT ผลคัดกรองได้ตามเป้าหมายปี2553-2555 ( ร้อยละ 88.38, 85.23, 75.6 ) การดูแลกลุ่ม Pre DM , Pre HT ผลอัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 9.41, 9.93, 6.07 อัตราความดันเลือดสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 7.20, 7.11, 0.66 นวัตกรรมการดูแลสุขภาพบุคลากร ผลPre DM / Pre HT 434 , 54DM /HT 42 , 38 อ้วน /รอบเอวเกิน 486 ,529 GFR 30-59.99 , < 15 249 , 3

  41. Secondary Prevention การลงทะเบียน DM/HT: ระบบสารสนเทศยังเชื่อมโยงข้อมูลได้ไม่สมบูรณ์ คีย์ข้อมูลหลายครั้ง อัตราการรักษาDM/HT ในชุมชนมาก : DM ร้อยละ 54.01, 50.14 , 49.56 HT ร้อยละ 59.33 , 62.06 การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทำได้กว่าร้อยละ 70 การรักษาด้วยยา : ส่งเสริมการใช้ ACEI /ARB / Statin เพิ่มรายการยาในหน่วยปฐมภูมิพัฒนาศักยภาพหน่วยปฐมภูมิในการดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาเหล่านี้ การสนับสนุนการบริหาร จัดการด้วยตนเอง ของสถานบริการปฐมภูมิ

  42. Tertiary Prevention การชะลอการเสื่อมของไต กิจกรรม คัดกรอง Microalbumin และ e GFR,ให้ความรู้และฝึกทักษะเพื่อชะลอไตเสื่อม,ปรับยา และการส่งต่อคลินิกไต ผล Diabetes nephropathy ร้อยละ 37.81, 29.93, 13.77 มีแนวโน้มลดลงตามลำดับ การป้องกันและชะลอตาบอด ตรวจจอประสาทตาเชิงรุกในชุมชน/OPD และการให้ความรู้และฝึกทักษะเข้มในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นตา ณ จุดบริการที่ตรวจพบในวันนั้น ผล Diabetes retinopathy ร้อยละ 3.04, 19.47, 11.58 มีแนวโน้มลดลงตามลำดับ เท้า การตรวจ Complete foot exam ผล อัตราการเกิดแผลและอัตราการถูกตัดนิ้วเท้า เท้า และขา มีแนวโน้มลดลง เป็นร้อยละ 0.73, 1.12 ,1.35 และร้อยละ 0.29, 0.41 ,0.11

  43. การเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องการเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่อง กระบวนการทำงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน APN/RN 2 คน เป็น care manager ประสานทีมสหวิชาชีพเพื่อวางแผนจำหน่าย จัดหาวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่บ้าน เป็นที่ปรึกษาหน่วยปฐมภูมิและรพช.ในการเยี่ยมบ้านและการดูแลรักษาในชุมชน มีศูนย์ COC รพ. , ชั้น 1 อาคาร 96 ปี หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เป็น COC MEDเนื่องจากเป็นสาขาที่มีโรคเรื้อรังที่มีปัญหาสุขภาพซับซ้อนจำนวนมาก ผล1. อัตราการส่งต่อดูแลต่อเนื่องที่บ้านร้อยละ96.77, 92.98 2. ความพึงพอใจของผู้ป่วยร้อยละ 96.3,96.7 3. อัตราการกลับมารักษาซ้ำด้วยภาวะแทรกซ้อน DM ภายใน 28 วันดีขึ้น ร้อยละ 11.25, 10.43, 8.43 4. อัตราการกลับมารักษาซ้ำด้วยภาวะแทรกซ้อน HT ภายใน 28 วันดีขึ้น ร้อยละ 4.03, 2.17

  44. การเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องการเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่อง ผล1. อัตราการส่งต่อดูแลต่อเนื่องที่บ้านร้อยละ96.77, 92.98 2. ความพึงพอใจของผู้ป่วยร้อยละ 96.3,96.7 3. อัตราการกลับมารักษาซ้ำด้วยภาวะแทรกซ้อน DM ภายใน 28 วันดีขึ้น ร้อยละ 11.25, 10.43, 8.43 4. อัตราการกลับมารักษาซ้ำด้วยภาวะแทรกซ้อน HT ภายใน 28 วันดีขึ้น ร้อยละ 4.03, 2.17

  45. ระบบการส่งต่อ

  46. เป้าหมายของการพัฒนาระบบส่งต่อเป้าหมายของการพัฒนาระบบส่งต่อ

  47. ผลลัพธ์และความสำเร็จการดำเนินงานพัฒนาระบบส่งต่อผลลัพธ์และความสำเร็จการดำเนินงานพัฒนาระบบส่งต่อ Referral Call center รพสต./รพช./รพท.เขต 10 และเขตรอยต่อ Refer in Refer out Refer back Continue of care

More Related