1 / 32

เรื่อง สนามของแรง

บทที่ 2. เรื่อง สนามของแรง. 1 นั่งตามกลุ่มน่ะค่ะ 2. หยิบชีสคนล่ะ 1 ชุด ตามเลขที่ 3. สมุดแจกของใครของมัน. สนามแม่เหล็ก. สนามโน้มถ่วง. สนามของแรง. สนามไฟฟ้า. 1.3. 1.1. 1.2. 1. Outline. แรง (  Force).

noel
Download Presentation

เรื่อง สนามของแรง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 เรื่อง สนามของแรง 1 นั่งตามกลุ่มน่ะค่ะ 2. หยิบชีสคนล่ะ 1 ชุด ตามเลขที่ 3. สมุดแจกของใครของมัน

  2. สนามแม่เหล็ก สนามโน้มถ่วง สนามของแรง สนามไฟฟ้า 1.3 1.1 1.2 1 Outline Company Logo

  3. แรง ( Force) • แรง(Force) หมายถึง  สิ่งที่มากระทำต่อวัตถุ  แล้วทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพเคลื่อนที่  เช่น ถ้ามีแรงมากระทำต่อวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่  อาจทำให้วัตถุนั้นหยุดนิ่ง,  เคลื่อนที่ช้าลง , เคลื่อนที่เร็วขึ้น  หรืออาจเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่ • แรง มี 2 ประเภท คือ     แรงสัมผัส แรงไม่สัมผัส หรือแรงสนาม Company Logo

  4. 1.สนามของแรง (Field  Force) • สนามของแรงคือ    บริเวณที่มีอำนาจของแรงส่งไปถึงสนามของแรง  หรือบริเวณในอวกาศที่สามารถเกิดแรงกับวัตถุที่วางอยู่ในบริเวณนั้น เช่น 1. ในชีวิตประจำวันเรานั้นจะต้องใช้ประโยชน์จากแรงกระทำอย่างเช่น การที่ผลไม้ ดอกไม้ ใบไม้ หรือวัตถุต่างๆตกสู่พื้น จะแสดงให้เห็นว่ามีแรงกระทำ 2. นักวิทยาศาสตร์กำหนดว่า บริเวณใดที่มีแรงกระทำต่อวัตถุ บริเวณนั้นจะมีสนาม (field)แต่ตาเราไม่สามารถมองเห็นได้ ซึ่งแบ่งเป็นแต่ละสนามได้ดังนี้ Company Logo

  5. 1.3 สนามโน้มถ่วง สนามของแรง 1.1 สนามแม่เหล็ก 1.2 สนามไฟฟ้า สนามของแรงแบ่งเป็น  3  ประเภท ดังนี้ Company Logo

  6. เข็ม สนามแม่เหล็ก เข็มทิศ รถไฟ ฮาร์ดดิสก์ เหรียญ นิเกิล +โคบอลต์ 1.1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) ลวดหนีบกระดาษ ถัดไป

  7. ย้อนกลับ

  8. การทดลองที่ 1 แนวการเรียงตัวของผงเหล็กรอบแท่งแม่เหล็ก 1. ดูการทดลองจาก Vdo อ่านกิจกรรมการทดลองหน้าที่ 27 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นให้ทำการทดลอง แล้วบันทึกผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง 1.1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  9. การทดลองที่ 2 แนวการเรียงตัวของเข็มทิศรอบแท่งแม่เหล็ก 1. ดูการทดลองจาก ครูหน้าห้อง อ่านกิจกรรมการทดลองหน้าที่ 28 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นวิเคราะห์จากการสังเกตเห็นจากการทดลองแล้วบันทึกผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  10. 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) จากการทดลองที่ 1 ,2 • ประโยชน์ที่นำไปใช้ Company Logo

  11. การทดลองที่ 3 สนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ 1. ดูการทดลองจาก ครูหน้าห้อง อ่านกิจกรรมการทดลองหน้าที่ 29 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นวิเคราะห์จากการสังเกตเห็นแล้วบันทึกผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  12. สรุปสนามแม่เหล็กจากการทดลองที่ 1 - 3 • บริเวณใดที่มีแรงแม่เหล็กกระทำเรียกว่า สนามแม่เหล็ก (magnetic field) เมื่อเรานำวัสดุที่ทำด้วยเหล็ก เช่น ลวดหนีบกระดาษหรือเข็มหมุด ไปวางใกล้แม่เหล็ก แม่เหล็กจะดูดวัสดุเหล่านั้น หรือเมื่อนำเข็มทิศมาวาง ก็จะมีแรงมากระทำให้เข็มทิศเบนไป นอกจากวัสดุที่ทำด้วยเหล็กแล้ว แม่เหล็กยังดุดนิกเกิล และโคบอลต์ด้วย • แนวการเรียงตัวของผงเหล็กรอบแท่งแม่เหล็ก เรียกว่า เส้นสนามแม่เหล็ก(magnetic field line)ซึ่งจะเห็นว่ามีสนามแม่เหล็กในบริเวณนั้น แม้จะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า บริเวณใดมีความหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็กน้อย สนามแม่เหล็กนั้นจะมีความเข้มข้นน้อย ส่วนบริเวณใดมีความหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็กมาก สนามแม่เหล็กนั้นจะมีความเข้มข้นสูง ซึ่งได้แก่ บริเวณขั้วทั้งสองของแม่เหล็ก

  13. A B C ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน สนามแม่เหล็กโลก 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) Company Logo

  14. การทดลองที่ 4 A. ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า 1. ดูการทดลองจาก Vdo อ่านกิจกรรมการทดลองหน้าที่ 30 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นดูวีดีโอ แล้วบันทึก ผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง จากนั้นตอบคำถามในการทดลองหน้า 30 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  15. 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) จากการทดลองที่ 4 • ประโยชน์ที่นำไปใช้ Company Logo

  16. ส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน จอเรืองแสง ปืนอิเล็กตรอน ขดลวดเบี่ยงเบน Company Logo

  17. การทดลองที่ 5 B. ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1. ดูการทดลองจาก Vdo อ่านกิจกรรมการทดลองหน้าที่ 33 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นดูวีดีโอ แล้วบันทึก ผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง จากนั้นตอบคำถามข้างล่างดังนี้ 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  18. 1 .1) สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) จากการทดลองที่ 5 • ประโยชน์ที่นำไปใช้ Company Logo

  19. 1 .1) สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field) C. สนามแม่เหล็กโลก Company Logo

  20. การทดลองที่ 6 C. สนามแม่เหล็กโลก 1. ดูการทดลองจาก ครูหน้าห้อง อ่านกิจกรรมการทดลอง 2.5 หน้าที่ 37 ของหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ จากนั้นวิเคราะห์จากการสังเกตเห็นแล้วบันทึกผลการทดลองตามความเข้าใจของนักเรียน เขียนใส่ในสมุดของตนเอง 1 .1)สนามแม่เหล็ก (Magnetic   Field)

  21. จากการทดลองที่ 6 • ประโยชน์ที่นำไปใช้ กลับ

  22. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) • ประจุไฟฟ้าจะมีสนามไฟฟ้า (electric field) แผ่กระจายโดยรอบ เช่น ในวันที่อากาศแห้ง เวลานำหวีมาถูกับผมแห้งๆ แล้วนำไปวางใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็กๆ จะพบว่าหวีสามารถดูดเศษกระดาษได้ แรงดูดนี้เป็น แรงไฟฟ้า(electric force)และหวีทำให้เกิดแรงดูดนี้มีประจุไฟฟ้า (electric charge)เรียกสั้นๆว่าประจุ ซึ่งมีทั้งประจุบวกและประจุลบ Company Logo

  23. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) Company Logo

  24. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) Company Logo

  25. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) • หลักการนี้สามารถนำไปใช้ในการกำจัดฝุ่น  เพื่อลดมลภาวะของอากาศโดยเมื่อให้อากาศที่มีฝุ่นละอองผ่านเครื่องกำจัดฝุ่น   ฝุ่นเล็กๆจะรับประจุไฟฟ้าลบจากขั้วลบของเครื่อง  และถูกดูดติดแน่นโดยแผ่นขั้วบวก  เครื่องกำจัดฝุ่นนี้มักใช้ดักจับฝุ่นจากปล่องควันของบ้านเรื่อนหรือโรงงานอุตสาหกรรม  ก่อนที่จะปล่อยออกสู่บรรยากาศ Company Logo

  26. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) • ในการทำให้ลำอิเล็กตรอนเบนไปจากแนวเดิม  นอกจากสามารถใช้สนามแม่เหล็กแล้ว  ก็ยังใช้สนามไฟฟ้าได้ด้วย  กล่าวคือเมื่ออิเล็กตรอนซึ่งเป็นอนุภาคที่มีประจุลบเคลื่อนที่ในทิศตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ  พบว่าแรงไฟฟ้าที่กระทำต่ออิเล็กตรอน  จะทำให้แนวการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเบนจากแนวการเคลื่อนที่เดิม  ดังภาพ Company Logo

  27. 1.2) สนามไฟฟ้า (Electric       Field) • ความรู้เกี่ยวกับการเบนของลำอิเล็กตรอนในสนามไฟฟ้าและหลอดรังสีแคโทด  นำไปสู่การสร้างจอแสดงผลของเครื่องมือและอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด  เช่น  จอเรดาร์  และออสซิลโลสโคป  เป็นต้น กลับ

  28. 1.3  สนามโน้มถ่วง (Gravitational     Field) •   เมื่อปล่อยวัตถุ  วัตถุจะตกสู่พื้นโลก  เนื่องจากโลกมี  สนามโน้มถ่วง   (gravitational  field)  อยู่รอบโลก  สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงดึงดูดกระทำต่อมวลของวัตถุทั้งหลายแรงดึงดูดนี้เรียกว่า  แรงโน้มถ่วง   (gravitational  force) • สนามโน้มถ่วงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  g  และสนามมีทิศพุ่งสู่ศูนย์กลางของโลก  สนามโน้มถ่วง  ณ  ตำแหน่งต่างๆบนผิวโลก  มีค่าประมาณ  9.8  m/s2 g = 9.8 m/s2 Company Logo

  29. 1.3  สนามโน้มถ่วง (Gravitational     Field) สนามโน้มถ่วงที่ตำแหน่งสูงจากผิวโลก  มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่  อย่างไร  สามารถศึกษาได้จากตัวอย่างในตารางต่อไปนี้ Company Logo

  30. 1.3  สนามโน้มถ่วง (Gravitational     Field) การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง • วัตถุที่อยู่ในสนามโน้มถ่วงของโลกจะถูกแรงดึงดูดดังนั้นเมื่อปล่อยวัตถุให้ตกบริเวณใกล้ผิวโลก  แรงดึงดูดของโลกจะทำให้วัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้น  นั่นคือวัตถุมีความเร่ง • การตกของวัตถุที่มีมวลต่างกันในสนามโน้มถ่วงวัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว เรียกว่า ความเร่งโน้มถ่วง (gravitational acceleration)มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวโลกมีค่าต่างกันตามตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ • การเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงของวัตถุที่บริเวณใกล้ผิวโลกถ้าคำนึงถึงแรงโน้มถ่วงเพียงแรงเดียว โดยไม่คิดถึงแรงอื่น เช่น แรงต้านอากาศ หรือแรงลอยตัวของวัตถุในอากาศแล้ววัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งโน้มถ่วงในทิศลง เรียกการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า การตกแบบเสรี (free fall) Company Logo

  31. 1.3  สนามโน้มถ่วง • แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ  ก็คือน้ำหนัก   (weight)  ของวัตถุบนโลก  หาได้จากสมการ W  =  mg เมื่อ  m  เป็นมวลของวัตถุมีหน่วยเป็นกิโลกรัม  (kg)           g  เป็นแรงโน้มถ่วง  ณ  ตำแหน่งที่วัตถุวางอยู่  มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที2  (m/s2)   และ  W  เป็นน้ำหนักของวัตถุมีหน่วยเป็นนิวตัน   (N) Company Logo

  32. Thank You !

More Related