1 / 48

การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย สำหรับอสม./ผู้ปกครอง

การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย สำหรับอสม./ผู้ปกครอง. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. เนื้อหา. 1.ฟันผุในเด็กเล็กส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก 2.ฟันผุเป็นโรคที่ป้องกันได้ 3. การเฝ้าระวังฟันผุในเด็กปฐมวัย. 1.ฟันผุในเด็กเล็ก ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก. เด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึง 5ปี)

noelle-cote
Download Presentation

การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย สำหรับอสม./ผู้ปกครอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัยสำหรับอสม./ผู้ปกครองการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัยสำหรับอสม./ผู้ปกครอง สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

  2. เนื้อหา 1.ฟันผุในเด็กเล็กส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก 2.ฟันผุเป็นโรคที่ป้องกันได้ 3.การเฝ้าระวังฟันผุในเด็กปฐมวัย

  3. 1.ฟันผุในเด็กเล็ก ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก

  4. เด็กปฐมวัย(แรกเกิดถึง 5ปี) เป็นช่วงวัยสำคัญของชีวิต • เป็นวัยสำคัญที่สุดของการเรียนรู้ • สมองเติบโต80%ในช่วง3ปีแรก • การพัฒนาศักยภาพสมองขึ้นกับ อาหารพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม • ครอบครัวมีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ • การพัฒนาเด็กปฐมวัยถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า

  5. สุขภาพช่องปากก็สำคัญ • ปากเป็นประตูด่านแรกที่จะนำอาหารเข้าสู่ร่างกาย • การขึ้นของฟันน้ำนมเป็นตัวบ่งชี้ช่วงเวลาในการปรับเปลี่ยนอาหารของเด็กจากเหลวเป็นกึ่งเหลวและแข็ง • การบดเคี้ยวอาหารช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของในหน้าและขากรรไกรให้สมบูรณ์ • ฟันช่วยให้ออกเสียงชัดเจน ส่งเสริมพัฒนาการพูดของเด็ก

  6. เคี้ยวมากๆ... ช่วยเสริมสร้างสมอง • พบว่าหนูที่เลี้ยงดัวยอาหารอ่อนจะมีขนาดของสมองโดยรวม เล็กว่าหนูที่เลี้ยงด้วยอาหารแข็ง 1-2% • พัฒนาการสมอง สัมพันธ์กับ การบดเคี้ยว - การบดเคี้ยวกระตุ้นให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น - ผู้สูงอายุที่มีฟันบดเคี้ยวจะมีความจำดีกว่า คนไม่มีฟัน

  7. โรคในช่องปากที่พบมาในเด็กปฐมวัยคือฟันผุโรคในช่องปากที่พบมาในเด็กปฐมวัยคือฟันผุ เริ่มพบฟันผุตั้งแต่อายุไมถึง1ปี อาย 3ปี ผุ 60 % อายุ 5ปีผุ 80 % ฟันผุเกือบทั้งหมดไม่ได้รับการรักษา พ่อแม่มักคิดว่าฟันน้ำนมไม่สำคัญ เดี๋ยวก็มีฟันแท้ขึ้นมาแล้ว

  8. เป็นแหล่งสะสมเชื้อ แพร่กระจายเชื้อไปยังอวัยวะอื่นได้ เช่นตา หู หัวใจ ปอด สมอง ร่างการต้องเพิ่มการเผาผลาญพลังงานเพื่อต้านการอักเสบทำให้การเจริญเติบโตลดลง ภัยร้ายของฟันน้ำนมผุ .. มีมากเกินกว่าที่คาดคิด!!!

  9. ภัยร้ายของฟันน้ำนมผุ .. มีมากเกินกว่าที่คาดคิด!!! • มีผลต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการ • และการเรียนรู้ของเด็ก • กินไม่ได้ • นอนไม่หลับ • มีผลต่อการหลังฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต • ไม่อยากเล่น /เรียน

  10. ผลต่อสุขภาพช่องปากเมื่อโตขึ้นผลต่อสุขภาพช่องปากเมื่อโตขึ้น ฟันแท้ผุ ฟันซ้อนเก ผลต่อผู้ปกครอง เสียเวลา ค่าใช้จ่าย ภัยร้ายของฟันน้ำนมผุ .. มีมากเกินกว่าที่คาดคิด!!!

  11. ปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็ก อาจนำมาสู่ปัญหา แหล่งสะสมเชื้อ กินไม่ได้ นอนไม่หลับ อารมณ์ไม่ดี ขาดสมาธิในการเรียนรู้ ไม่เจริญเติบโต แคระแกรน เส้นรอบวงสมองเล็ก เชื้อแพร่ไปทางกระแสเลือด พัฒนาการช้า สติปัญญาต่ำ

  12. 2.ฟันผุเป็นโรคที่ป้องกันได้2.ฟันผุเป็นโรคที่ป้องกันได้

  13. ฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เด็กเกิดใหม่ช่องปากไม่มี เชื้อโรค เด็กจะได้รับเชื้อผ่านทางน้ำลายของแม่/ผู้เลี้ยงดู เมื่อมีฟันขึ้นเชื้อจะมีที่ยึดเกาะและจะเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็วถ้าได้รับน้ำตาล สะสมเป็นแผ่นคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน

  14. คราบจุลินทรีย์ตัวสำคัญที่ทำให้ฟันผุคราบจุลินทรีย์ตัวสำคัญที่ทำให้ฟันผุ www.dent.chulu.ac.th www.dent.chulu.ac.th เป็นคราบเหนียวนุ่มสีครีม บ้วนน้ำไม่ออก กำจัดได้โดยการแปรงฟัน

  15. สาเหตุฟันผุ 3)ตรวจฟันให้ลูก สม่ำเสมอ + น้ำตาลในอาหาร การป้องกัน 1)แปรงฟัน ทุกวันด้วยยาสีฟันF 2)ฝึกวินัย ไม่กินหวาน ไม่จุบจิบ + +

  16. 1)แปรงฟันให้เด็กทุกวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์1)แปรงฟันให้เด็กทุกวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์

  17. สิ่งที่พ่อแม่ควรรู้ในการแปรงฟันให้เด็กสิ่งที่พ่อแม่ควรรู้ในการแปรงฟันให้เด็ก • ทำไมต้องแปรงฟัน • วิธีการแปรง • รู้ได้อย่างไรว่าแปรงสะอาดแล้ว • ควรแปรงฟันให้เด็กเมื่ออายุเท่าไร และแปรงให้ถึงอายุเท่าไร

  18. ทำไมต้องแปรงฟันให้เด็กทำไมต้องแปรงฟันให้เด็ก • เพื่อขจัดคราบจุลินทรีย์ที่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคที่ทำให้เกิดฟันผุ เด็กเล็กยังแปรงเองไม่ได้/แปรงได้ไม่สะอาด

  19. วิธีแปรงฟันให้เด็ก • ล้างมือให้สะอาดก่อนแปรงฟันให้เด็ก • เตรียมแปรงและยาสีฟันผสมฟลูออไรด์สำหรับเด็กแตะยาสีฟันเป็นจุดเล็กๆ • ให้เด็กนอนหนุนตักผู้แปรง จะช่วยให้มองเห็นบริเวณที่จะแปรงได้ชัดเจนและใช้มือช่วยแปรงได้ทั้ง2ข้าง

  20. ถ้าเด็กไม่ร่วมมือ ให้เด็กนอนหนุนตักรวบมือของเด็กไว้ ใช้ขาพาดข้ามตัวเด็กไปวางบนขาอีกข้าง ภาพโดยอ.ทพ.วุฒิกุลธนากาญจนภักดี

  21. ใช้มือทั้ง2ข้างช่วยแปรงใช้มือทั้ง2ข้างช่วยแปรง • ใช้นิ้วมือซ้ายแหวกกระพุ้งแก้ม มือขวาจับแปรง • วางแปรงตั้งฉากกับฟัน ถูเบาๆไปมาสั้นๆประมาณ 10 - 20 ครั้ง • ขยับไปให้ทั่วทั้งปากโดยให้ทับบริเวณเดิมเล็กน้อย • ใช้ผ้าสะอาดบางเช็ดยาสีฟันออกจากตัวฟันและลิ้นออกให้หมด

  22. ข้อควรระวังในการแปรงฟันเด็กข้อควรระวังในการแปรงฟันเด็ก ไม่ควรใช้แปรงใหญ่ แข็ง บาน แปรงแรงกระแทกเหงือก กระพุ้งแก้ม ยาสีฟันเผ็ด

  23. รู้ได้อย่างไรว่าแปรงฟันสะอาดแล้วรู้ได้อย่างไรว่าแปรงฟันสะอาดแล้ว • หากแปรงสะอาดจะพบผิวฟันเรียบเป็นมันวาว • ไม่พบคราบจุลินทรีย์ติดอยู่

  24. ควรเริ่มแปรงฟันให้เด็กเมื่ออายุเท่าไรควรเริ่มแปรงฟันให้เด็กเมื่ออายุเท่าไร • ตั้งแต่มีฟันซี่แรก วันละ2ครั้งถึงเด็กอายุประมาณ6 ปี

  25. 2)ฝึกวินัยการกิน • ให้เด็กได้รับสารอาหารเพียงพอ • ให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาพฤติกรรมการกิน ที่ดีในแต่ละช่วงวัย • สร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมเมื่อเป็นผู้ใหญ่ • (ไม่กินหวานไม่กินจุบจิบ)

  26. กินอย่างไรช่วงไม่มีฟันกินอย่างไรช่วงไม่มีฟัน • แรกเกิด-6ด. • นมแม่อย่างเดียวได้ทั้งอาหารและภูมิคุ้มกันทางร่างกายและจิตใจ • การดูดนมแม่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของใบหน้าและขากรรไกร ให้สมบูรณ์

  27. ฟันขึ้น เริ่มฝึกกิน • 6 ด. ฟันเริ่มขึ้น • เริ่มให้อาหาร 1 มื้อ • เลิกนมมื้อดึก ฝึกดื่มจากถ้วย • ไม่ใช้ช้อน ถ้วยน้ำรวมกับเด็ก • ไม่เป่าอาหารก่อนป้อนเด็ก

  28. เริ่มกินเหมือนผู้ใหญ่เริ่มกินเหมือนผู้ใหญ่ • 1ปีขึ้นไป • อาหารหลัก 3 มื้อไม่ใช้สารปรุงรส • ไม่หวาน มัน เค็มจัด • อาหารระหว่างมื้อไม่เกิน2ครั้ง • เน้นผลไม้/นมจืด • เลิกขวดนม ดื่มจากถ้วยหรือกล่อง

  29. อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง หลีกเลี่ยงการให้เด็กกินนมหวาน นมเปรี้ยว น้ำหวาน น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ทอฟฟี่ และขนมหวาน เป็นอาหารระหว่างมื้อ

  30. 3)พ่อแม่ตรวจฟันเป็นประจำช่วยป้องกันฟันผุได้3)พ่อแม่ตรวจฟันเป็นประจำช่วยป้องกันฟันผุได้

  31. ตรวจง่ายๆ แค่4 ซี่หน้าบน คราบจุลินทรีย์ ฟันผุระยะแรก ฟันผุเป็นรู ถ้าพ่อแม่ผู้ปกครองดูแลสม่ำเสมอตั้งแต่เริ่มมีฟันขึ้น จะสามารถช่วยไม่ให้เด็กมีฟันผุจนเป็นรูได้

  32. คราบจุลินทรีย์ ดูด้วยตา ใช้หลอดขูด ถ้ามี ต้องแปรงฟันให้สะอาดทุกวัน

  33. ฟันผุระยะแรก ...ดูแลเองได้ การแปรงฟันให้เด็กด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์และการควบคุมอาหาร ช่วยหยุดการลุกลามได้

  34. ฟันผุระยะแรก ...หมอช่วยได้ พาลูกไปพบทันตบุคลากรเพื่อทาฟลูออไรด์

  35. ถ้าพบฟันผุเป็นรู ควรไปพบทันตบุคลากรเพื่อรักษา

  36. สรุป ฟันผุป้องกันได้...ถ้าใส่ใจดูแล 2.ฝึกวินัยการกินให้ลูก 1.แปรงฟันให้สะอาดวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ 3.ตรวจดูฟันลูกเป็นประจำ และพามาตรวจฟันเมื่อรับวัคซีน ครอบครัว พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ต้องเห็นความสำคัญ

  37. 3.การเฝ้าระวังฟันผุในเด็กปฐมวัย3.การเฝ้าระวังฟันผุในเด็กปฐมวัย

  38. การเฝ้าระวังเมื่อเด็กมารับบริการในคลินิกเด็กดีการเฝ้าระวังเมื่อเด็กมารับบริการในคลินิกเด็กดี เด็กได้รับ -การตรวจช่องปากและประเมินความเส่ยงต่อการเกิดฟันผุ - ผู้ปกครองได้รับคำแนะนำเรื่องอาหาร ฝึกแปรงฟันเด็ก -ตรวจและประเมินซ้ำเมื่อมารับบริการทุกครั้งตามระบบวัคซีนถ้ามีความเสี่ยงฟันผุจะได้รับการทาฟลูออไรด์ และนัดเพิ่มเติม ปัญหาที่พบ ผู้รับบริการมาก /จนท.น้อย การให้บริการไม่ครอบคลุมเด็กได้ทั้งหมด

  39. ชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างไรชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างไร ครอบครัว/พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ ชุมชน -เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กในชุมชน -สนับสนุนให้ผู้ปกครองสามารถดูแลเด็กได้ -ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชน

  40. บทบาทของอสม. สื่อข่าวสารสาธารณสุข ให้คำแนะนำและถ่ายทอดความรู้ เป็นแกนนำในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาในชุมชน เป็นผู้นำในด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ฯลฯ

  41. การเฝ้าระวังฟันผุเด็กปฐมวัยการเฝ้าระวังฟันผุเด็กปฐมวัย ในชุมชนโดยอสม. (เน้นเด็กต่ำกว่า 3ปี) เป้าหมาย ผู้ปกครอง แปรงฟันให้ลูกทุกวัน เด็กลดการกินหวาน จำนวนเด็กฟันผุลดลง

  42. แนวทางดำเนินงานของอสม.แนวทางดำเนินงานของอสม. • สำรวจเด็กอายุต่ำกว่า 3ปี ถ้าพบปัญหา ให้คำแนะนำผู้ปกครองและติดตามประเมินซ้ำทุก 3 เดือน เพื่อช่วยให้ผู้ปกครองดูแลสุขภาพช่องปากลูกได้ • บันทึก รวบรวมข้อมูลปัญหาฟันผุของเด็กเสนอผู้นำชุมชน/อบต.ร่วมกันแก้ไขปัญหา

  43. ข้อมูลที่สำรวจและติดตามข้อมูลที่สำรวจและติดตาม พฤติกรรมการดูแลเด็ก ไม่เหมาะสม กินนมหวาน/นมมื้อดึกเกิน6ด./ดูดขวดเกิน1ปี/กินขนม>2ครั้ง/ผู้ปกครองไม่แปรงฟันให้ด้วยยาสีฟันF เหมาะสม แนะนำผปค. ตรวจฟัน 4ซี่ ฟันผุระยะแรกแนะนำตรวจฟันฝึกแปรงฟันและส่งทาฟลูออไรด์ ฟันผุเป็นรู แนะนำตรวจฟันฝึกแปรงฟันและส่งรักษา ฟันสะอาด แนะนำผปค.ตรวจฟันลูก ฟันไม่สะอาดแนะนำตรวจฟันและฝึกแปรงฟัน บันทึก รวบรวม นำเสนอปัญหาผู้มีส่วนร่วมในชุมชน

  44. แบบบันทึกข้อมูลรายบุคคลแบบบันทึกข้อมูลรายบุคคล แบบบันทึกการเฝ้าระวังรายบุคคลในเด็ก 0-2 ปี ทุก3 เดือน(เท่ากับจำนวนเด็กที่รับผิดชอบ) ชื่อ ดช./ดญ..................................นามสกุล..........................................เกิดวันที่.....................เดือน.........................พ.ศ................ ชื่อมารดา/บิดา............................................................บ้านเลขที่...............หมู่...........ต........................อ..................จ.................... คำแนะนำที่ให้ 1=แนะนำเรื่องอาหาร 2=แนะนำการแปรงฟัน 3= แนะนำการตรวจฟัน 4= ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก 5=แนะนำให้ไปพบหมอ

  45. แบบบันทึกข้อมูลเด็กในชุมชนแบบบันทึกข้อมูลเด็กในชุมชน สรุปผลการเฝ้าระวังฟันผุเด็ก 0-2 ปี ประจำเดือน.................................................พ.ศ........................................... ชื่อ อสม.......................................................หมู่ที่.....................ตำบล.....................อำเภอ......................จังหวัด....................................... คำแนะนำที่ให้ 1=แนะนำเรื่องอาหาร 2=แนะนำการแปรงฟัน 3= แนะนำการตรวจฟัน 4= ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก 5=แนะนำให้ไปพบหมอ

  46. ตัวอย่างที่เกิดจากการดำเนินงานของอสม.ตัวอย่างที่เกิดจากการดำเนินงานของอสม. • เด็กกินนมหวานลดลงดูดขวดนมลดลง กินขนมน้อยลง แปรงฟันมากขึ้น และฟันสะอาดขึ้น • ชุมชนตื่นตัวมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน • มีการจัดทำโครงการแก้ปัญหาโดยอบต.เข้ามาช่วยจัดกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง จัดประกวดแปรงฟัน

  47. ความคิดเห็นของอสม. “เห็นความสำคัญของปัญหาฟันผุในเด็กเล็กมากขึ้น จากเดิมไม่ได้ให้ความสนใจเลย คิดว่าเป็นเรื่องของผู้ปกครองและหมอฟัน เปลี่ยนเป็นให้ความสนใจและเห็นว่าเป็นหน้าที่ของอสม.ด้วย เนื่องจากเป็นเรื่องของลูกหลานในชุมชน” • “ภูมิใจที่ได้รับมอบหมายภาระหน้าที่นี้และสามารถทำให้ผู้ปกครองหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของบุตรหลานมากขึ้น”

  48. เราทุกคนมีส่วนช่วยให้เด็กๆในชุมชนมีสุขภาพดีได้เราทุกคนมีส่วนช่วยให้เด็กๆในชุมชนมีสุขภาพดีได้ จัดทำโดย กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน สำนักทันตสาธารณสุข

More Related