300 likes | 861 Views
แนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี. สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข. วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข. กลุ่มเป้าหมาย. 1. สถานประกอบการพี่เลี้ยง/ต้นแบบ
E N D
แนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข กลุ่มเป้าหมาย 1. สถานประกอบการพี่เลี้ยง/ต้นแบบ (ผ่านการประเมิน Healthy work place , ISO 9001 , ISO 14001 , TTSI18001 , โรงงานสีขาว ฯลฯ ) 2. สถานประกอบการทั่วไป (สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการแต่ยังไม่ได้ดำเนินการรับรองมาตรฐานใด ๆ ) 3. วิสาหกิจชุมชุม (กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการหรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกับ และรวมตัวกับประกอบกิจกรรม)
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ประชากรวัยทำงาน ในสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ลดโรคและการบาดเจ็บอันสืบเนื่องมาจากวิถีชีวิต และ การประกอบอาชีพ รวมถึงมีสุขภาพจิตที่ดี)
กระบวนการดำเนินงาน สถานประกอบฯ
ส่วนประกอบของเกณฑ์การพัฒนาฯส่วนประกอบของเกณฑ์การพัฒนาฯ การสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน (นโยบายองค์กร/การติดต่อสื่อสาร/การตรวจติดตาม ทบทวน และประเมินผล/การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน)
ประโยชน์ของการดำเนินงานสถานประกอบการฯประโยชน์ของการดำเนินงานสถานประกอบการฯ 1. เจ้าของกิจการ/ ผู้ประกอบกิจการ • ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว เกิดภาพลักษณ์ที่ดี • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนทำงานและองค์กร พนักงานทุ่มเทเต็มใจทำงาน • เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของงาน 2. พนักงาน • มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ลดการเจ็บป่วย • มีความตั้งใจในการทำงาน มีขวัญและกำลังใจ • ได้รับสวัสดิการในการทำงานเพิ่มขึ้น 3. สังคม • ได้องค์กรที่มีคุณภาพ ลดภาระในการพึ่งพาภาครัฐรวมทั้งยังสร้างรายได้ให้แก่ภาครัฐใน รูปแบบภาษีอากรที่มากขึ้น ส่งผลดีต่อสภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม • มีการจ้างงานมากขึ้น และประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้น • เกิดความร่วมมือที่ดีและความสนับสนุนจากองค์กรภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน
แนวทางการดำเนินงานของสถานประกอบการแนวทางการดำเนินงานของสถานประกอบการ ส่วนการสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน การสนับสนุนขององค์กร การกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการฯ และการจัดตั้งแกนนำ การติดต่อสื่อสาร การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน การติดตามทบทวนและประเมินผลเพื่อการพัฒนา การใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อมระหว่างองค์กร และชุมชน
ส่วนที่ 1 การสนับสนุนขององค์กร การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงานการใส่ใจต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมระหว่างองค์กรและชุมชน 1.1 การสนับสนุนองค์กร 1.2 การกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการฯ และ การจัดตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงาน 1.3 การติดต่อสื่อสาร 1.4 การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน 1.5 การติดตามทบทวนและประเมินผล เพื่อการพัฒนา 1.6 การใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อมระหว่างองค์กร และชุมชน
ส่วนที่ 2 ปลอดโรค 2.1 การบันทึกข้อมูลสุขภาพ 2.2 การตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน - ก่อนเข้างาน , ระหว่างปฏิบัติงาน , ตรวจตามความเสี่ยง -การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - การแจ้งผล - การให้วัคซีน 2.3 การให้ความรู้ภายใต้โครงการ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ส่วนที่ 2 ปลอดโรค 2.4 การให้คำปรึกษาเพื่อป้องกันควบคุมโรค การให้บริการรักษา เบื้องต้นและการส่งต่อ 2.5 กิจกรรม ลด เลิก บุหรี่ สุรา และสิ่งเสพติด 2.6 กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ 2.7 กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย 2.8 กิจกรรมส่งเสริมการลดอุบัติเหตุจราจร
ส่วนที่ 3ปลอดภัย 3.1 บันทึกข้อมูลอุบัติเหตุจากการทำงาน 3.2 อาคารสถานที่ (5 ส.) 3.3 บริเวณที่จำหน่ายอาหารหรือ รับประทานอาหา และการบริการน้ำดื่ม น้ำใช้ (มาตรฐานกรมอนามัย) 3.4 ห้องน้ำ ห้องส้วม (มาตรฐานกรมอนามัย) 3.5 การทำงานที่ปลอดภัย 3.6 เครื่องจักรอุปกรณ์เครื่องใช้ 3.7 ระบบไฟฟ้า
ส่วนที่ 3ปลอดภัย 3.8 การป้องกันอัคคีภัยและสาธารณภัย 3.9 แสงสว่าง 3.10 การระบายอากาศ 3.11 เสียงและความสั่นสะเทือน 3.12 สารเคมี 3.13 ขยะ 3.14 การควบคุมสัตว์ และ แมลงนำโรค 3.15 น้ำเสียหรือสิ่งปฏิกูล
ส่วนที่ 4 กายใจเป็นสุข • 4.1 กิจกรรมนันทนาการ • 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต • *การประเมินสุขภาพจิต • - แบบประเมินความสุข • - แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ • - แบบประเมินการติดแอลกอฮอล์ • - แบบประเมินความเครียด • แบบประเมินภาวะซึมเศร้า • (ดำเนินการอย่างน้อย 1 การประเมิน) • สถานที่ประกอบศาสนกิจ • 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว
** สถานประกอบการ เตรียมแนบรายละเอียดเอกสาร หรือหลักฐาน รวมถึงตัวอย่างที่ใช้ประกอบการพิจารณาในแต่ละรายการประเมิน ซึ่งอาจเป็นเอกสารหรือหลักฐานที่มาจากสถานประกอบการ หรือเป็นเอกสารหรือหลักฐานที่มาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ** ในกรณีที่บริบทของสถานประกอบการที่เข้ารับการตรวจประเมินไม่สอดคล้องกับรายการประเมินในข้อใดๆ ให้ยกเว้นการตรวจประเมินในข้อนั้นๆ และ ไม่นำมาคิดเป็นคะแนนในการประเมินผล
กระบวนการพัฒนาและการขอรับรองกระบวนการพัฒนาและการขอรับรอง สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข สถานประกอบการสมัครเข้าร่วมโครงการที่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทีมพี่เลี้ยงชี้แจงทำความเข้าใจ พร้อมแจกเอกสาร เกณฑ์การพัฒนาและแนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ และประเมินผลการดำเนินงานด้วยตนเอง ได้คะแนน 60 ขึ้นไป ไม่ใช่ ใช่
สถานประกอบการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ และประเมินผลการดำเนินงานด้วยตนเอง ได้คะแนน 60 ขึ้นไป ไม่ใช่ ใช่ สถานประกอบการยื่นคำร้องขอการรับรอง ผ่าน สสจ. สถานประกอบการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา และแนวทางแก้ไข คณะกรรมการระดับจังหวัด ตรวจประเมิน สถานประกอบการดำเนินการแก้ไขและขอการสนับสนุนจาก สสจ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้คะแนน 60 ขึ้นไป แจ้งผลการตรวจ และเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุง ไม่ใช่ ใช่
กระบวนการพัฒนาและการขอรับรองกระบวนการพัฒนาและการขอรับรอง สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ได้คะแนน 60 ขึ้นไป ไม่ใช่ ใช่ ได้คะแนน 60-79 รับใบประกาศเกียรติคุณ ได้คะแนน 80-89 รับใบประกาศเกียรติคุณระดับดี ได้คะแนน 90 ขึ้นไป รับใบประกาศเกียรติคุณระดับดีเด่น ส่งพิจารณา ระดับประเทศ
กระบวนการพัฒนาและการขอรับรองกระบวนการพัฒนาและการขอรับรอง สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข คณะกรรมการตรวจประเมินระดับประเทศ ตรวจประเมินสถานประกอบการ ได้คะแนน ตั้งแต่ 80 - 89 ได้รับโล่เงิน ได้คะแนน 90 ขึ้นไป ได้รับโล่ทอง สิ้นสุดกระบวนการรับรอง
Thank you for Your attention