1 / 28

ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต

ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต. กระทรวงสาธารณสุข. อดีต. ทัศนคติ ทางลบ ตรวจสุขภาพ ถ้า พบ ไม่อนุญาตให้ทำงาน ให้ส่งกลับประเทศต้นทาง การรักษายังไม่มี การป้องกันจากแม่สู่ลูกยังไม่มี การป้องกันใช้ถุงยางอนามัย 100 % การมีส่วนร่วมของชุมชน และการให้ความรู้กับชุมชนน้อย.

nolan-moore
Download Presentation

ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติจากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต กระทรวงสาธารณสุข

  2. อดีต • ทัศนคติ ทางลบ ตรวจสุขภาพ ถ้า พบ ไม่อนุญาตให้ทำงาน ให้ส่งกลับประเทศต้นทาง • การรักษายังไม่มี • การป้องกันจากแม่สู่ลูกยังไม่มี • การป้องกันใช้ถุงยางอนามัย 100 % • การมีส่วนร่วมของชุมชน และการให้ความรู้กับชุมชนน้อย

  3. ปัจจุบัน • ไม่มีสิทธิเข้าถึงการรักษา การป้องกัน • เพิ่งเริ่มต้นการมีชุดสิทธิประโยชน์ในด้านการรักษา การป้องกัน ในการประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติ • ระบบประกันมี 2 กองทุน ประกันสังคม , บัตรสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข • การปรับตัวระบบบริการกระทรวงสาธารณสุข

  4. คนต่างด้าว ด้านหน้าบัตร สิทธิประโยชน์คนต่างด้าวที่ได้รับ ได้แก่ การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง รวมทั้งการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษาระหว่างสถานพยาบาล การควบคุมป้องกันโรคในคนต่างด้าว การเฝ้าระวังโรคในคนต่างด้าว ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ต้องมีลายเซ็นปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล กำกับ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ สิทธิประโยชน์ของเด็กที่ได้รับ ได้แก่ การดูแลทารกแรกเกิดตั้งแต่วันคลอดจนถึงอายุ 28 วัน การให้วัคซีนพื้นฐาน (ในเด็ก 0–15 ปี) การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด สิทธิประโยชน์ของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับ ได้แก่ การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก การให้บริการดูแลการคลอด และหลังคลอด การวางแผนครอบครัว ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด 4

  5. สิทธิประโยชน์ของบริการที่ได้รับ ทั้งเด็กและหญิงตั้งครรภ์ • สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป • การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง และการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) • กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน • การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษาระหว่างสถานพยาบาล • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ได้แก่ • การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การคลอด ตลอดจนการให้บริการดูแลหลังคลอด • การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก • การวางแผนครอบครัว ประกอบด้วย การทำหมัน ฉีดยาคุม ฝังยาคุม และการจ่ายยาคุมกำเนิด • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันในเด็ก เช่น การให้วัคซีนป้องกันโรคตามวัย 5

  6. โครงสร้างการบริหารจัดการในระบบสุขภาพของกระทรวงโครงสร้างการบริหารจัดการในระบบสุขภาพของกระทรวง • Purchaserคนไทยกองทุนหลัก 3 กองทุน สปสช., สวัสดิการรักษาพยาบาล ขรก., ประกันสังคม., ต่างด้าว ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว • Providerหน่วยบริการสุขภาพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • Regulator บทบาททางด้านการควบคุมกำกับโดยใช้เครื่องมือทางกฏหมาย พรบ.ยา , พรบ.อาหาร, พรบ.เครื่องมือแพทย์ , พรบ.การสาธารณสุข, พรบ.ประกอบโรคศิลป์, พรบ.สถานพยาบาล, พรบ.ควบคุมโรค

  7. หน่วยงานทางด้านสุขภาพหน่วยงานทางด้านสุขภาพ • หน่วยราชการอยู่ภายใต้กสธ. : สำนักงานปลัดกระทรวง, กรมต่าง ๆ , สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • หน่วยงานรัฐภายใต้การกำกับ : สปสช., สสส., สช., สวรส., • รัฐวิสาหกิจ : องค์การเภสัชกรรม • หน่วยงานนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข :กระทรวงต่าง ๆ (กลาโหม, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ศึกษา คณะแพทย์ต่าง ๆ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กทม.) • เอกชน : คลินิก , โรงพยาบาลเอกชน

  8. อนาคต • เงินจากกองทุนโลก ในลักษณะประเทศผู้รับหมดไป อยู่ในลักษณะความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคที่ยังได้รับเงินจากกองทุนโลกอยู่ • ความร่วมมือในภูมิภาคจะมีมากขึ้น ในระดับอาเซียน มีการลงนามความร่วมมือในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง • ความร่วมมือทวิภาคี ไทย-เมียนมาร์ มีการลงนามความร่วมมือกัน • การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบประกันให้มีประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ในเรื่องการเข้าถึงการประกัน การบริการด้านรักษา การป้องกัน

  9. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ธรรมนูญของอาเซียน พัฒนาทางการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ร่วมมือป้องกันทางทหารและความมั่นคงอาเซียน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกร่ง พัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคมผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง APSC Blueprint ประชาคมเศรษฐกิจ AEC Blueprint ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASCC Blueprint ตลาด/ฐานการผลิตเดียว ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม

  10. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับประเด็นด้านสาธารณสุขการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับประเด็นด้านสาธารณสุข ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • เข้าถึงการดูแลสุขภาพ/ส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ • การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ • การลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ • เพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ • การลดการติดเชื้อ/แพร่ระบาดของ HIV/ AIDS/ โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ • การเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัสHIV • การจัดการระบบสุขาภิบาล • สร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น • การรับมือและลดการสูญเสียจากภัยพิบัติโดยสร้างการมีส่วนร่วม • ประสานงาน/วางแผนกับหลายภาคส่วนเพื่อรับมือกับโรคระบาดในระดับภูมิภาค

  11. MOU on HIV and Mobility Between GMS Country

  12. Adopted in Bali, Indonesia 17 Nov 2011 Fourth ASEAN Work Programme on HIV and AIDS 2011-2015 – AWP IV

  13. MOU Thai-Myanmar • 2. Goal and objectives • 2.1 Goal: • To strengthen health collaboration between Thailand and Myanmar, especially on disease surveillance, prevention and control at cross-border. • To promote quality and safety of traditional medicines, food, pharmaceuticals and cosmetic products through information sharing and development of human resources. • To emphasis the importance of adolescent reproductive health, elderly care and nutrition to the health of the populations in both countries. • 2.2 Objectives: • To strengthen collaboration on HIV and AIDS prevention and care programs along the Myanmar-Thai Border. • To improve DOTS strategies implementation targeting to achieve treatment success rate of 85% in all targeted border areas. ลงนาม 20 กันยายน 2556

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์การบริการในกลุ่มแรงงานข้ามชาติประเด็นยุทธศาสตร์การบริการในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ๑. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับประชากรต่างด้าวที่ครอบคลุมและเข้าถึงได้และมีมาตรฐาน ๒. การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ๓. การมีส่วนร่วมของประชากรต่างด้าว และชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว โดยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ๕. การบริหารจัดการ

  15. ยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับประชากรต่างด้าวที่ครอบคลุม เข้าถึงได้และมีมาตรฐาน เป้าประสงค์ :สถานบริการสาธารณสุขทั้งรัฐและเอกชน มีการจัด บริการที่ครอบคลุม มาตรฐานและเข้าถึงได้ โดยสอดคล้องกับภาวะ และข้อจำกัดของประชากรต่างด้าว กลยุทธ์ ๑. พัฒนาระบบบริการในสถานพยาบาลเพื่อให้บริการอย่างเป็นมิตร (Friendly Service) และลดข้อจำกัดด้านการสื่อสารโดยใช้กลไกที่เหมาะสม

  16. ๒. พัฒนาระบบบริการเชิงรุก ในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค รวมถึง อาชีวอนามัย และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ๓. พัฒนาระบบส่งต่อประชากรต่างด้าวทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อการรักษาพยาบาลที่เหมาะสม ๔. สร้างทัศนคติที่ดี และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขเพื่อให้บริการสาธารณสุขที่ เหมาะสม ๕. ส่งเสริมและพัฒนาให้มีพนักงานสาธารณสุขต่างด้าวช่วยสนับสนุนการให้บริการ

  17. ยุทธศาสตร์ ๒. การมีหลักประกันสุขภาพ เป้าประสงค์ :ประชากรต่างด้าว มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กลยุทธ์ ๑. สร้างและพัฒนาหลักประกันด้านสุขภาพสำหรับประชากรต่างด้าวที่ยั่งยืน ๒. ส่งเสริมการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพในกลุ่มประชากรต่างด้าว ๓. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องสิทธิประโยชน์ตามหลักประกันสุขภาพ แก่ผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะกลุ่มประชากรต่างด้าว และผู้ประกอบการ ๔. บูรณาการความร่วมมือให้มีระบบติดตามและประสานงาน ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบการให้กลุ่มประชากรต่างด้าวเข้าสู่ระบบประกันสุขภาพได้อย่างทั่วถึง ๕. สร้างระบบการตรวจสอบกระบวนการดำเนินการประกันสุขภาพ

  18. ยุทธศาสตร์ ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชากรต่างด้าว และชุมชน ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวโดยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ : ๑. ประชากรต่างด้าว และชุมชนสามารถร่วมกันดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนได้ ๒. ชุมชนที่มีประชากรต่างด้าวมีกิจกรรมด้านการดูแลสุขภาพร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ๓. ทุกภาคส่วนมีความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสาธารณสุขประชากรต่างด้าว

  19. กลยุทธ์ ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) /แกนนำสาธารณสุขต่างด้าว ๒. พัฒนาศักยภาพ พนักงานสาธารณสุขต่างด้าว อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว/แกนนำสาธารณสุขต่างด้าว ในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน ๓. สร้างและส่งเสริมเครือข่ายการเรียนรู้และเกื้อหนุนการทำงานของพนักงานสาธารณสุขต่างด้าว และอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว/แกนนำสาธารณสุขต่างด้าว รวมถึงการประสานการทำงานร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขคนไทย

  20. ๔. เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ระบบสนับสนุน และเจตคติที่ดีของเครือข่ายการทำงาน ทั้ง ภาครัฐภาคเอกชน ประชาชนไทย ผู้ประกอบการ และองค์กรส่วนท้องถิ่นที่เอื้อต่อการทำงานด้านสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนต่างด้าว ๕. พัฒนาศูนย์สาธารณสุขชุมชนต่างด้าว ตามความเหมาะสมของพื้นที่

  21. ยุทธศาสตร์ ๔.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ เป้าประสงค์ : มีฐานข้อมูล และสารสนเทศด้านสาธารณสุขประชากรต่างด้าวที่ถูกต้อง ครอบคลุม เป็นปัจจุบันและเข้าถึงได้ โดยเชื่อมโยงกับข้อมูลในภาคส่วนอื่นๆ ที่สามารถใช้ในการวางแผนควบคุมกำกับ และประเมินงานสาธารณสุขในทุกระดับ กลยุทธ์ ๑. พัฒนาระบบฐานข้อมูลสาธารณสุขประชากรต่างด้าว ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการเชื่อมโยงข้อมูลกับภาคส่วนอื่นๆ ๓. สนับสนุนส่งเสริมให้มีกลไกการเผยแพร่ และนำข้อมูลไปใช้ในการกำหนดนโยบาย วางแผนและติดตามประเมินผล เพื่อการพัฒนางานสาธารณสุขประชากรต่างด้าว

  22. ยุทธศาสตร์ ๕.การบริหารจัดการ เป้าประสงค์ : มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพในการสนับสนุนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์สาธารณสุขประชากรต่างด้าว กลยุทธ์ ๑. ประสาน ผลักดันให้เกิดการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้อง ๒. ส่งเสริมให้มีการกำหนด นโยบายและแผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุขของประชากรต่างด้าว แบบบูรณาการทุกระดับ

  23. ๓. ผลักดันให้มีโครงสร้าง หน่วยงาน และ/หรือผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินงานสาธารณสุขสำหรับประชากรต่างด้าวทุกระดับ ๔. บริหารจัดการงบประกันสุขภาพและงบประมาณอื่นๆ ให้เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงานสาธารณสุขประชากรต่างด้าวอย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงผลักดันให้มีการจัดตั้งกองทุนประกันสุขภาพประชากรต่างด้าว ๕. สนับสนุนให้มีการนิเทศงานสาธารณสุขประชากรต่างด้าวในระบบตรวจราชการ หรืออื่นใด ๖. ผลักดันให้เกิดนโยบายเรื่องการจัดจ้างพนักงานสาธารณสุขต่างด้าวเพื่อช่วยสนับสนุนในการบริการ

  24. THE END THANK YOU

More Related