1 / 29

ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา. อาจารย์อนุวัตร เดชศิริ. โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร. การจำแนกภาษีอากรตามกฎหมาย. ภาษีทางตรง. ภาษีทางอ้อม. - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - ภาษีเงินได้นิติบุคคล. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต. ประเภทภาษีอากรตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร.

Download Presentation

ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อาจารย์อนุวัตร เดชศิริ

  2. โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากรโครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร

  3. การจำแนกภาษีอากรตามกฎหมายการจำแนกภาษีอากรตามกฎหมาย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - ภาษีเงินได้นิติบุคคล • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ภาษีธุรกิจเฉพาะ • ภาษีศุลกากร • ภาษีสรรพสามิต

  4. ประเภทภาษีอากรตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรประเภทภาษีอากรตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร

  5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผู้มีหน้าที่ เสียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการยื่นแบบแสดงรายการ ≠ + ผู้ต้องรับผิด เสียภาษีอากร

  6. ประเภทของผู้มีเงินได้ที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประเภทของผู้มีเงินได้ที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  7. เงินได้พึงประเมินและแหล่งเงินได้เงินได้พึงประเมินและแหล่งเงินได้ • เงินได้พึงประเมิน (ม.39) ประมวลรัษฎากรได้หมายรวมถึงเงินได้พึงประเมินไว้ดังนี้ (1) เงิน (2) ทรัพย์สินที่อาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน (3) ประโยชน์ที่อาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน (4) เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ (5) เครดิตภาษีตามกฎหมายกำหนด ที่ได้รับจริง (เกณฑ์ เงินสด)

  8. เงินได้พึงประเมินและแหล่งเงินได้ (ต่อ) • แหล่งเงินได้ (ม.41) ประมวลรัษฎากรได้แบ่งเป็นเงินได้จากแหล่งในประเทศและนอกประเทศ ซึ่งจะต้องนำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ ให้พิจารณาดังนี้ (1) กรณีเงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ (1.1) หน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย หรือ (1.2) กิจการที่ทำในประเทศไทย หรือ (1.3) กิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือ (1.4) ทรัพย์สินอยู่ในประเทศไทย

  9. เงินได้พึงประเมินและแหล่งเงินได้ (ต่อ) (2) กรณีเงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศไทย (2.1) หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ หรือ (2.2) กิจการที่ทำในต่างประเทศ หรือ (2.3) ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ สำหรับผู้มีเงินได้จากแหล่งนอกประเทศไทยในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วจะต้องเสียภาษีเงินได้เมื่อเข้า องค์ประกอบครบทั้ง 2 ประการ ดังนี้ 1. เป็นผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้น และ 2. ได้นำเงินได้นั้นเข้ามาในประเทศในปีภาษีนั้นด้วย

  10. บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามกฎหมายดังต่อไปนี้ 1. บุคคลตาม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2499 2. บุคคลตาม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2500 3. บุคคลตาม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 4. บุคคลตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 17 พ.ศ.2515 5. บุคคลตาม พ.ร.บ.ให้อำนาจปฏิบัติเกี่ยวกับธนาคารพัฒนาเอเชีย พ.ศ. 2509 6. บุคคลตามคำสั่งคณะปฏิวัติที่ 79/2515

  11. เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้ที่สำคัญๆ ที่ได้รับยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามที่กำหนดไว้โดยมาตรา 42 และกฎกระทรวงที่ออกมาตรานี้ เช่น 1. ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือค่าพาหนะ 2. ค่าเบี้ยประชุม ค่าสอน ที่ทางราชการจ่ายให้ 3. ดอกเบี้ย 4. การขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์มรดก 5. เงินที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ หรือจากมรดก หรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือโอกาส

  12. เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ต่อ) 6. เงินที่ได้จากการประกันภัยหรือฌาปนกิจสงเคราะห์ 7. รางวัลสลากกินแบ่งหรือสลากออมสินของรัฐบาล 8. ค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้างจ่ายให้ 9. เงินได้ของชาวนาที่ได้จากการขายข้าว 10. เงินได้ที่ทางราชการจ่ายให้เป็นเงินค่าเช่าบ้าน 11. ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้สุทธิจากการคำนวณตามมาตรา 48(1) เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาท ในปีภาษีนั้น (พ.ร.ฎ. ฉบับที่ 470)

  13. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่ายประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย • เงินได้ตามมาตรา 40(1) – (8) แห่งประมวลรัษฎากร • หักค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ – มาตรา 46 เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 1. เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ม. 40(1) (ก) เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส บำเหน็จบำนาญ (ข) เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง (ค) เงินที่นายจ้างจ่ายชำระหนี้ให้ (ง) เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใดๆ ที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เช่น ค่าอาหารกลางวัน

  14. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 2. เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงาน ม. 40(2) (ก) ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า (ข) เบี้ยประชุม บำเหน็จ โบนัส (ค) ค่าเช่าบ้านที่ได้รับเนื่องจากหน้าที่ (ง) เงินที่ผู้จ่ายเงินได้จ่ายชำระหนี้ใดๆ (ฉ) เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใดๆ ที่ได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ ไม่ว่าชั่วคราวหรือเป็นการประจำ

  15. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1-2 กฎหมายให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด คือ ผู้มีเงินได้ หักเป็นการเหมา ร้อยละ 40 แต่รวมกันไม่เกิน 60,000 บาท สามีภรรยา ต่างฝ่ายต่างหักเป็น การเหมา ร้อยละ 40 แต่ไม่เกินฝ่ายละ 60,000 บาท

  16. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3 3. เงินได้สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ม. 40(3) (ก) ค่าลิขสิทธิ์ (ข) เงินปี ค่ากู๊ดวิลล์ หรือสิทธิอย่างอื่น (ค) เงินที่มีลักษณะเป็นรายปีอันมาจากพินัยกรรม นิติกรรมอื่น หรือคำพิพากษาของศาล ข้อ(ก) หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ร้อยละ 40 แต่ไม่เกิน 60,000 บาท ข้อ(ข)-(ค) กฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

  17. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 4. เงินได้จากดอกผลแห่งเงินลงทุน ม. 40(4) (ก) ดอกเบี้ย (ข) เงินปันผล ส่วนแบ่งกำไร การหักค่าใช้จ่ายกฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

  18. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 5. เงินได้จากค่าเช่าทรัพย์สิน ม. 40(5) (ก) บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอื่น (ข) ที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม (ค) ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการเกษตรกรรม ข้อ (ก) หักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 30 ยกเว้นการให้เช่าช่วง ข้อ (ข) หักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 20 ยกเว้นการให้เช่าช่วง ข้อ (ค) หักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 15 ยกเว้นการให้เช่าช่วง

  19. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 6. เงินได้จากวิชาชีพอิสระ ม. 40(6) (ก) การประกอบโรคศิลป (ข) กฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี ประณีตศิลปกรรม และวิชาชีพอื่น ข้อ (ก) หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 60 ข้อ (ข) หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 30

  20. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 7. เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ ม. 40(7) การหักค่าใช้จ่ายหักได้ตามความจำเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ในอัตราร้อยละ70

  21. ประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย (ต่อ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 8. เงินได้นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในประเภทที่ 1 - 7ม. 40(8) การหักค่าใช้จ่ายหักได้ตามความจำเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ในอัตราร้อยละตามตารางท้ายมาตรานี้ เช่น เงินได้จากการเป็นนักแสดง (ก) ส่วนที่ไม่เกิน 30,000 บาท หักได้ร้อยละ 60 (ข) ส่วนที่เกิน 30,000 บาท หักได้ร้อยละ 40 ซึ่งรวมข้อ (ก) และ (ข) ต้องไม่เกิน 600,000 บาท

  22. การหักลดหย่อน (มาตรา 47) • การหักลดหย่อนในกรณีทั่วไป (1) ผู้มีเงินได้ 30,000 บาท (2) สามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้ 30,000 บาท (3) บุตรชอบด้วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธรรม 1. เกิดก่อนหรือใน พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาท 2. เกิดหลัง พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาทแต่รวมกันไม่เกิน 3 คน ทั้งนี้หักได้เฉพาะบุตรที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีและยังศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา แต่ถ้าศึกษาอยู่ในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาในสถาบันการศึกษาตามกฎหมาย หักเพิ่มได้อีก 2,000 บาท

  23. การหักลดหย่อน (มาตรา 47) (ต่อ) • การหักลดหย่อนในกรณีทั่วไป (ต่อ) (4) เบี้ยประกันภัย หักได้ตามจำนวนจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท แต่สามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้ หักได้ 10,000 บาท (กรมธรรม์ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป) (5) เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หักได้ตามจำนวนจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท (6) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม หักได้ตามจำนวนจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท แต่สามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้ หักได้ 10,000 บาท (7) เงินสมทบที่จ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม หักได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง

  24. การหักลดหย่อน (มาตรา 47) (ต่อ) • การหักลดหย่อนในกรณีทั่วไป (ต่อ) (8) ค่าอุปการะบิดามารดาของผู้มีเงินได้ หักได้คนละ 30,000 บาท ซึ่งบิดามารดาต้องมีอายุ 60 ปีขึ้นไป (9) เงินบริจาค เมื่อหักลดหย่อนต่างๆ หมดแล้ว เหลือเท่าใดให้หักลดหย่อนเงินบริจาคได้อีกแต่ต้องไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว

  25. การหักลดหย่อน (มาตรา 47) (ต่อ) • การหักลดหย่อนในกรณีสามีและภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ ให้นำรวมกัน หรือแยกกันหักค่าลดหย่อนได้ตามกฎเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กำหนด • การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้ถึงแก่ความตาย สามารถหักลดหย่อนได้เสมือนว่ามีชีวิตอยู่ตลอดปีภาษีที่ถึงแก่ความตาย

  26. การหักลดหย่อน (มาตรา 47) (ต่อ) • การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้เป็นกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง ให้หักค่าลดหย่อนได้ 30,000 บาท • การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาทแต่รวมกันไม่เกิน 60,000 บาท

  27. บัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  28. กำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการกำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ กำหนดการยื่นแบบแสดงรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินนั้นมี 2 ระยะ คือ • เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5, 6, 7, หรือ 8 (ไม่ว่าจะมีเงินได้ประเภทอื่นรวมอยู่ก็ตาม) ยื่นภายในเดือนกันยายนของปีภาษีนั้น “ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี” • เงินได้พึงประเมินต่างๆ ที่ได้รับระหว่างปีภาษี ยื่นภายในเดือนมีนาคมของปีถัดไป“ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี”

  29. แบบแสดงรายการที่ใช้ตามกฎหมายแบบแสดงรายการที่ใช้ตามกฎหมาย

More Related