3.2k likes | 6.66k Views
ตรีโกณมิติ. วิชาคณิตศาสตร์. นางรักสมัย สินธุนาวา. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง. 1. หาอัตราส่วนของตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา 60 องศา และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับระยะทางความสูง และการวัดได้.
E N D
ตรีโกณมิติ วิชาคณิตศาสตร์ นางรักสมัย สินธุนาวา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. หาอัตราส่วนของตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา 60 องศา และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับระยะทางความสูง และการวัดได้ 2. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมายและการนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจนและรัดกุม
อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ คือ อัตราส่วนของความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก B c a A C จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมี AĈB = 90 องศา ถ้าเราพิจารณาที่มุม A 1. ด้าน AB เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ด้าน BC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A 3. ด้าน AC เรียกว่า ด้านประชิดมุม A b
ลองทำดู กำหนด ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่ A มีขนาดตามที่กำหนดให้ในตารางต่อไปนี้ ให้นักเรียนหาความยาวของด้านที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปที่กำหนดให้แล้วเขียนค่าของอัตราส่วนเติมในตาราง เชื่อมโยงความรู้กับทฤษฏีบทพีทาโกรัส
A B B B 2 1 1 2 A C 1 C A A C 1
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียกมุม และด้าน กรณีเขียน มุม และด้านต่างกัน C รูปที่ 1 มุม A เป็นมุมฉาก b a ความยาว a หน่วยเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก A B c B มุม C เป็นมุมฉาก รูปที่ 2 c a ความยาว c เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก A C b A มุม B เป็นมุมฉาก รูปที่ 3 b c ความยาว b เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก B C a
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก กรณีเขียน มุม และด้านเหมือนกัน C มุม A เป็นมุมฉาก รูปที่ 1 b a ความยาว a เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม A เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก A B c ความยาว b เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม B B รูปที่ 2 ความยาว c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม C c a C ทุกรูป A b C รูปที่ 3 a b B A c
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียกมุม และด้าน ด้านตรงข้ามมุมฉาก a เป็นด้านตรงข้ามมุม A A มุมฉาก มุม A ด้านประชิดมุม A
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มุม B B ด้านประชิดมุม B ด้านตรงข้ามมุมฉาก มุมฉาก b เป็นด้านตรงข้ามมุม B
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มุม B B เป็นด้านตรงข้ามมุม A ด้านตรงข้ามมุมฉาก a ด้านประชิดมุม B A มุมฉาก b มุม A ด้านประชิดมุม A เป็นด้านตรงข้ามมุม B
อัตราส่วนตรีโกณมิติ sine(ไซน์) ,cosine(โคไซน์), tangent(แทนเจนต์) ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 1. sine ของมุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก sine ของมุมA เขียน ใช้ sin A ความยาวของด้านประชิดมุม 2. cosine ของมุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก cosine ของมุมA เขียน ใช้ cos A ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 3. tangent ของมุม = ความยาวของด้านประชิดมุม tangent ของมุมA เขียน ใช้ tan A
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม A จากรูป ABC มี มุมACB= 90๐ B ___ AB คือ ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย a ___ BC คือ ด้านตรงข้ามมุม A และ ด้านประชิดมุม B c ___ AC คือ ด้านประชิดมุม A และ ด้านตรงข้ามมุม B A C b ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A a = = เขียนย่อใช้ sin A 1. sine ของมุม A c ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านประชิดมุม A b 2. cosine ของมุม A = = เขียนย่อใช้ cos A c ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A a 3. tangent ของมุม A = = เขียนย่อใช้ tan A b ความยาวของด้านประชิดมุม A
อัตราส่วนตรีโกณมิติ ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 4. cosecant ของมุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุม cosecant ของมุมA เขียน ใช้ cosec A หรือเขียนใช้ csc A ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 5. secant ของมุม = ความยาวของด้านประชิดมุม secant ของมุมA เขียน ใช้ sec A ความยาวของด้านประชิดมุม 6. cotangent ของมุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุม cotangent ของมุมA เขียน ใช้ cot A
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม A จากรูป ABC มี มุม ACB= 90๐ B ___ AB คือ ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย a ___ BC คือ ด้านตรงข้ามมุม A และ ด้านประชิดมุม B c ___ AC คือ ด้านประชิดมุม A และ ด้านตรงข้ามมุม B A C b ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก c = 4. cosecant ของมุม A = a ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก c 5. secant ของมุม A = = ความยาวของด้านประชิดมุม A b ความยาวของด้านประชิดมุม A b 6. cotangent ของมุม A = = a ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม B จากรูป ABC มี มุม ACB= 90๐ B ___ AB คือ ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย a ___ BC คือ ด้านตรงข้ามมุม A และ ด้านประชิดมุม B c ___ AC คือ ด้านประชิดมุม A และ ด้านตรงข้ามมุม B A C b ความยาวของด้านตรงข้ามมุม B b = = 1. sine ของมุม B c ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านประชิดมุม B a 2. cosine ของมุม B = = c ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านตรงข้ามมุม B b 3. tangent ของมุม B = = a ความยาวของด้านประชิดมุม B
ค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม B ข้ามฉาก c a ข้ามมุม a ข้ามมุม sin A = c ข้ามฉาก A C b B ข้ามฉาก c ชิดมุม b a cos A = c ข้ามฉาก A C ชิดมุม b B c a tan A ข้ามมุม = ข้ามมุม a ชิดมุม b A C ชิดมุม b
ค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม B ข้ามฉาก c a b ข้ามมุม sin B = c A ข้ามฉาก C ข้ามมุม b B ข้ามฉาก c a ชิดมุม a cos ชิดมุม B = c ข้ามฉาก A C b B c ข้ามมุม b a tan B = ชิดมุม a ชิดมุม A C b ข้ามมุม
1. sine ของมุม ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม ความยาวของด้านตรงข้ามมุม sin มุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก มุม มุมฉาก ด้านประชิดมุม 3 sin 60๐ 2 = 3 2 60๐ 1 30๐ 1 sin 30๐ 2 = 2 3 1
2. cosine ของมุม ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม ความยาวของด้านประชิดมุม cos มุม = ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก มุม มุมฉาก ด้านประชิดมุม 1 cos 60๐ 2 = 3 2 60๐ 1 30๐ 3 cos 30๐ 2 = 2 3 1
3. tangent ของมุม ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม ความยาวของด้านตรงข้ามมุม tan มุม = ความยาวของด้านประชิดมุม มุม มุมฉาก ด้านประชิดมุม 3 3 tan 60๐ 2 = = 3 1 60๐ 1 30๐ 1 tan 30๐ 3 2 = = 3 3 3 1
ค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 45 องศา ข้ามฉาก 2 1 ข้ามมุม 1 ข้ามมุม sin 45๐ = 45๐ ข้ามฉาก 2 1 ข้ามฉาก 2 ชิดมุม 1 1 cos 45๐ = ข้ามฉาก 2 45๐ 1 ชิดมุม 2 ข้ามมุม 1 tan 45๐ = 1 = 1 ข้ามมุม ชิดมุม 1 45๐ 1 ชิดมุม
ค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม B ข้ามฉาก 3 2 ข้ามมุม 2 ข้ามมุม sin A = 3 ข้ามฉาก A C 5 B 3 ข้ามฉาก ชิดมุม 5 2 cos A = ข้ามฉาก 3 A C ชิดมุม 5 B 3 ข้ามมุม 2 tan A = ข้ามมุม 2 5 ชิดมุม A C 5 ชิดมุม
ค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม B ข้ามฉาก 3 2 5 ข้ามมุม sin B = 3 A ข้ามฉาก C 5 ข้ามมุม B 3 ข้ามฉาก 2 ชิดมุม ชิดมุม 2 cos B = 3 ข้ามฉาก A C 5 B 3 ข้ามมุม 5 ชิดมุม tan B 2 = ชิดมุม 2 A C ข้ามมุม 5
ตัวอย่างที่ 1 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AB ยาว 24 หน่วย มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน AC วิธีทำ เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน AC โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน AC เราจะเทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว B 2 ข้ามฉาก cos 24 AC ชิดมุมA A = ยึดมุม A AB ข้ามฉาก 60๐ A C AC แทนค่า cos 60๐ = แทนค่า cos 60๐ ชิดมุม 24 1 AC 1 = 24 2 12 1 × 24 1 AC = ชิดมุม = 2 2 ข้ามฉาก 1 AC 12 = ด้าน AC ยาว 12 หน่วย ตอบ
การใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติการใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติ หาความยาวด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
ตัวอย่างที่ 2 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AB ยาว 8 หน่วย มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน BC วิธีทำ เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน BC โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC เราจะเทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว B 2 ข้ามฉาก 8 ข้ามมุม BC ข้ามมุมA sin A = ยึดมุม A 3 AB ข้ามฉาก 60๐ A C BC แทนค่า sin 60๐ แทนค่า sin 60๐ = 8 BC 3 = 8 2 4 3 × 8 3 BC = ข้ามมุม = 2 2 ข้ามฉาก 1 BC 43 = ด้าน BC ยาว 43 หน่วย ตอบ
ตัวอย่างที่ 3 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AC ยาว 12 หน่วย มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน BC วิธีทำ โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน BC เราจะเทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว B ข้ามมุม BC ข้ามมุมA tan A = ยึดมุม A 3 AC ชิดมุม A 60๐ A C BC แทนค่า tan 60๐ 12 = แทนค่า tan 60๐ 12 ชิดมุม BC 1 3 = 12 1 3 × 12 3 BC = ข้ามมุม = 1 1 ชิดมุม BC 123 = ด้าน BC ยาว 123 หน่วย ตอบ
ตัวอย่างที่ 4 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน BC ยาว 6 หน่วย มุมA เท่ากับ 30 องศา จงหาความยาวของด้าน AC วิธีทำที่1 โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน AC เราจะเทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว B AC ชิดมุมA A cot ข้ามมุม = ยึดมุม A BC ข้ามมุม A 6 1 A AC 30๐ แทนค่า cot 30๐ = แทนค่า cot 30๐ C 6 ชิดมุม AC 3 = 3 6 1 3 × 6 AC = 3 ชิดมุม = 1 ข้ามมุม 6 3 AC = ด้าน AC ยาว 63 หน่วย ตอบ
ตัวอย่างที่ 4 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน BC ยาว 6 หน่วย มุมA เท่ากับ 30 องศา จงหาความยาวของด้าน AC วิธีทำที่2 โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน AC เราจะเทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว B ชิดมุมB 60๐ 6 1 A tan B AC ข้ามมุมฺB 30๐ = ยึดมุม B C BC ชิดมุม B ข้ามมุมB AC แทนค่า tan 60๐ = แทนค่า tan 60๐ 3 6 AC 3 = 6 3 1 ข้ามมุม = 1 ชิดมุม 3 × 6 AC = 6 3 AC = ด้าน AC ยาว 63 หน่วย ตอบ